โครงการเริ่มต้นใหม่ หัวใจไร้ยาเสพติด
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเริ่มต้นใหม่ หัวใจไร้ยาเสพติด ”
ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายการันต์ วาแมยีซา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเมืองรามันห์
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการเริ่มต้นใหม่ หัวใจไร้ยาเสพติด
ที่อยู่ ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L8305-02-05 เลขที่ข้อตกลง 007/68
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเริ่มต้นใหม่ หัวใจไร้ยาเสพติด จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเมืองรามันห์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเริ่มต้นใหม่ หัวใจไร้ยาเสพติด
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเริ่มต้นใหม่ หัวใจไร้ยาเสพติด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L8305-02-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเมืองรามันห์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหายาเสพติดในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นปัญหาสำคัญที่ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของประเทศชาติ โดยพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม ประชาชนส่วนใหญ่มีฐานะยากจน และมีความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษา ล้วนส่งผลให้เกิดความไม่สงบในพื้นที่มาอย่างต่อเนื่องยาวนานหลายสิบปี เมื่อประชาชนส่วนใหญ่มีฐานะยากจน บุตรหลานขาดการศึกษา สภาพเศรษฐกิจที่ไม่ดี และปัญหาการว่างงาน ทำให้กลุ่มผู้ค้ายาเสพติดสามารถแทรกซึมเข้ามาได้ง่าย ส่งผลให้เยาวชนจำนวนมากถูกดึงเข้าไปเกี่ยวข้องทั้งในฐานะผู้เสพและผู้ค้า เมื่อเยาวชนคนรุ่นใหม่ถูกมอมเมาด้วยยาเสพติด ทำให้สังคมอ่อนแอ วุ่นวาย และไม่ปลอดภัย ส่งผลกระทบไปสู่ปัญหาสังคมอื่น ๆ เช่น การเลิกเรียนกลางคัน คุณภาพของเยาวชนในชุมชน ปัญหาเศรษฐกิจระดับครัวเรือน ความรุนแรงในชุมชน การลักขโมย การทะเลาะวิวาทและการฆาตกรรม รวมถึงการลดศักยภาพของแรงงานในพื้นที่ ซึ่งบั่นทอนความมั่นคงและความสงบสุขของชุมชน ยาเสพติดจึงเป็นภัยร้ายที่สร้างความเสียหายในหลายมิติ ไม่เพียงแต่ทำลายสุขภาพของผู้เสพ แต่ยังส่งผลกระทบต่อการศึกษา เศรษฐกิจ ความปลอดภัย และความมั่นคงของสังคมในระยะยาว
การเติบโตของยาเสพติดมีจุดเริ่มต้นที่เด็กและเยาวชน ซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายหลักของผู้ค้ายา เนื่องจากเยาวชนเหล่านี้ขาดภูมิคุ้มกันทางจิตใจ ยิ่งขาดการศึกษายิ่งถูกชักจูงได้ง่าย อีกทั้งเพื่อนยังเป็นปัจจัยหลักที่ทำให้เยาวชนถูกชักจูงได้ง่ายขึ้น เนื่องจากเพื่อนอาจมีอิทธิพลมากกว่าในบางกรณี เยาวชนมักเชื่อฟังหรือทำตามกลุ่มเพื่อนในชีวิตประจำวัน หากเพื่อนไม่ให้คำแนะนำที่ดี หรือยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด จะเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญที่นำไปสู่การเกี่ยวข้องกับยาเสพติดได้ ดังนั้น เพื่อนที่ดีจะมีบทบาทสำคัญในการช่วยเหลือและให้คำปรึกษา เยาวชนต้องมีความรู้ทั้งด้านสามัญและศาสนา มีเพื่อนที่มีคุณภาพ และสามารถสนับสนุนกันในทางที่ถูกต้อง เพื่อสร้างความเข้มแข็งและภูมิคุ้มกันในกลุ่มเยาวชน จากปัญหาดังกล่าว คณะผู้จัดทำจึงมีความตั้งใจที่จะจัดโครงการนี้ขึ้นเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีให้กับเยาวชน โดยเชื่อมั่นว่าการแก้ปัญหาต้องเริ่มต้นจากรากฐานสำคัญที่สุด คือ การมีแรงบันดาลใจ ความรู้ความเข้าใจ และเพื่อนที่ดี คอยช่วยให้คำปรึกษา และสนับสนุนแนวทางที่ถูกต้อง โดยเริ่มต้นจากการสร้างแรงบันดาลใจในการเปลี่ยนแปลงตนเอง ให้เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติดทั้งโทษและหลักการทางศาสนา สร้างสายสัมพันธ์ที่ดีภายในกลุ่มเพื่อนและชุมชน และสร้างเครือข่ายความร่วมมือภายในชุมชนทั้งจากภาครัฐและเอกชน ในการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์สร้างแรงบันดาลใจ การส่งเสริมทักษะอาชีพ การสร้างสายสัมพันธ์ที่ดีในกลุ่มเพื่อน และการสร้าง “ชุมชนตื่นรู้” เพื่อเฝ้าระวังและแจ้งเบาะแสอย่างเป็นระบบ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- วัตถุประสงค์ 1.เพื่อสร้างแรงบันดาลใจให้เยาวชนในการพัฒนาตนเองให้ห่างไกลจากยาเสพติด ผ่านความรู้ ความเข้าใจ และหลักศาสนา 2.เพื่อเสริมสร้างสายสัมพันธ์ที่ดีในกลุ่มเพื่อนและครอบครัว โดยการสนับสนุนให้เกิดการช่วยเหลือและให้คำปรึกษาระหว่างกัน 3.เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างโรงเรียน ชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการเฝ้าระวังและป้องกันปัญหายาเสพติด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.นักเรียนรู้เท่าทันโทษของยาเสพติด และหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงได้ดีขึ้น
2.นักเรียนเห็นคุณค่าของตนเอง มีความมั่นใจและเลือกทำสิ่งที่ดีในชีวิต
3.นักเรียนมีความสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้นขึ้น กล้าพูดคุยและเข้าใจกันมากขึ้น
4.โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที่ดี ห่างไกลจากยาเสพติด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
วัตถุประสงค์ 1.เพื่อสร้างแรงบันดาลใจให้เยาวชนในการพัฒนาตนเองให้ห่างไกลจากยาเสพติด ผ่านความรู้ ความเข้าใจ และหลักศาสนา 2.เพื่อเสริมสร้างสายสัมพันธ์ที่ดีในกลุ่มเพื่อนและครอบครัว โดยการสนับสนุนให้เกิดการช่วยเหลือและให้คำปรึกษาระหว่างกัน 3.เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างโรงเรียน ชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการเฝ้าระวังและป้องกันปัญหายาเสพติด
ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ
ร้อยละ 80 ของนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมและแสดงความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดและแนวทางการป้องกันตามหลักศาสนา ผ่านแบบประเมินก่อนและหลังการอบรม
ร้อยละ 80 ของนักเรียนที่รายงานว่ามีความสัมพันธ์ที่ดีขึ้นกับกลุ่มเพื่อนและครอบครัว ผ่านแบบสอบถามหลังเข้าร่วมโครงการ
จำนวนกิจกรรมเครือข่ายความร่วมมือที่จัดขึ้นร่วมกับภาครัฐและเอกชนเพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ 1.เพื่อสร้างแรงบันดาลใจให้เยาวชนในการพัฒนาตนเองให้ห่างไกลจากยาเสพติด ผ่านความรู้ ความเข้าใจ และหลักศาสนา 2.เพื่อเสริมสร้างสายสัมพันธ์ที่ดีในกลุ่มเพื่อนและครอบครัว โดยการสนับสนุนให้เกิดการช่วยเหลือและให้คำปรึกษาระหว่างกัน 3.เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างโรงเรียน ชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการเฝ้าระวังและป้องกันปัญหายาเสพติด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเริ่มต้นใหม่ หัวใจไร้ยาเสพติด จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L8305-02-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายการันต์ วาแมยีซา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเริ่มต้นใหม่ หัวใจไร้ยาเสพติด ”
ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
หัวหน้าโครงการ
นายการันต์ วาแมยีซา
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L8305-02-05 เลขที่ข้อตกลง 007/68
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 26 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเริ่มต้นใหม่ หัวใจไร้ยาเสพติด จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเมืองรามันห์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเริ่มต้นใหม่ หัวใจไร้ยาเสพติด
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเริ่มต้นใหม่ หัวใจไร้ยาเสพติด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกายูบอเกาะ อำเภอรามัน จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 68-L8305-02-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 26 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเมืองรามันห์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหายาเสพติดในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นปัญหาสำคัญที่ส่งผลกระทบอย่างรุนแรงต่อเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของประเทศชาติ โดยพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นพื้นที่ที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม ประชาชนส่วนใหญ่มีฐานะยากจน และมีความเหลื่อมล้ำด้านการศึกษา ล้วนส่งผลให้เกิดความไม่สงบในพื้นที่มาอย่างต่อเนื่องยาวนานหลายสิบปี เมื่อประชาชนส่วนใหญ่มีฐานะยากจน บุตรหลานขาดการศึกษา สภาพเศรษฐกิจที่ไม่ดี และปัญหาการว่างงาน ทำให้กลุ่มผู้ค้ายาเสพติดสามารถแทรกซึมเข้ามาได้ง่าย ส่งผลให้เยาวชนจำนวนมากถูกดึงเข้าไปเกี่ยวข้องทั้งในฐานะผู้เสพและผู้ค้า เมื่อเยาวชนคนรุ่นใหม่ถูกมอมเมาด้วยยาเสพติด ทำให้สังคมอ่อนแอ วุ่นวาย และไม่ปลอดภัย ส่งผลกระทบไปสู่ปัญหาสังคมอื่น ๆ เช่น การเลิกเรียนกลางคัน คุณภาพของเยาวชนในชุมชน ปัญหาเศรษฐกิจระดับครัวเรือน ความรุนแรงในชุมชน การลักขโมย การทะเลาะวิวาทและการฆาตกรรม รวมถึงการลดศักยภาพของแรงงานในพื้นที่ ซึ่งบั่นทอนความมั่นคงและความสงบสุขของชุมชน ยาเสพติดจึงเป็นภัยร้ายที่สร้างความเสียหายในหลายมิติ ไม่เพียงแต่ทำลายสุขภาพของผู้เสพ แต่ยังส่งผลกระทบต่อการศึกษา เศรษฐกิจ ความปลอดภัย และความมั่นคงของสังคมในระยะยาว
การเติบโตของยาเสพติดมีจุดเริ่มต้นที่เด็กและเยาวชน ซึ่งเป็นกลุ่มเป้าหมายหลักของผู้ค้ายา เนื่องจากเยาวชนเหล่านี้ขาดภูมิคุ้มกันทางจิตใจ ยิ่งขาดการศึกษายิ่งถูกชักจูงได้ง่าย อีกทั้งเพื่อนยังเป็นปัจจัยหลักที่ทำให้เยาวชนถูกชักจูงได้ง่ายขึ้น เนื่องจากเพื่อนอาจมีอิทธิพลมากกว่าในบางกรณี เยาวชนมักเชื่อฟังหรือทำตามกลุ่มเพื่อนในชีวิตประจำวัน หากเพื่อนไม่ให้คำแนะนำที่ดี หรือยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด จะเป็นปัจจัยเสี่ยงสำคัญที่นำไปสู่การเกี่ยวข้องกับยาเสพติดได้ ดังนั้น เพื่อนที่ดีจะมีบทบาทสำคัญในการช่วยเหลือและให้คำปรึกษา เยาวชนต้องมีความรู้ทั้งด้านสามัญและศาสนา มีเพื่อนที่มีคุณภาพ และสามารถสนับสนุนกันในทางที่ถูกต้อง เพื่อสร้างความเข้มแข็งและภูมิคุ้มกันในกลุ่มเยาวชน จากปัญหาดังกล่าว คณะผู้จัดทำจึงมีความตั้งใจที่จะจัดโครงการนี้ขึ้นเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีให้กับเยาวชน โดยเชื่อมั่นว่าการแก้ปัญหาต้องเริ่มต้นจากรากฐานสำคัญที่สุด คือ การมีแรงบันดาลใจ ความรู้ความเข้าใจ และเพื่อนที่ดี คอยช่วยให้คำปรึกษา และสนับสนุนแนวทางที่ถูกต้อง โดยเริ่มต้นจากการสร้างแรงบันดาลใจในการเปลี่ยนแปลงตนเอง ให้เยาวชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติดทั้งโทษและหลักการทางศาสนา สร้างสายสัมพันธ์ที่ดีภายในกลุ่มเพื่อนและชุมชน และสร้างเครือข่ายความร่วมมือภายในชุมชนทั้งจากภาครัฐและเอกชน ในการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์สร้างแรงบันดาลใจ การส่งเสริมทักษะอาชีพ การสร้างสายสัมพันธ์ที่ดีในกลุ่มเพื่อน และการสร้าง “ชุมชนตื่นรู้” เพื่อเฝ้าระวังและแจ้งเบาะแสอย่างเป็นระบบ
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- วัตถุประสงค์ 1.เพื่อสร้างแรงบันดาลใจให้เยาวชนในการพัฒนาตนเองให้ห่างไกลจากยาเสพติด ผ่านความรู้ ความเข้าใจ และหลักศาสนา 2.เพื่อเสริมสร้างสายสัมพันธ์ที่ดีในกลุ่มเพื่อนและครอบครัว โดยการสนับสนุนให้เกิดการช่วยเหลือและให้คำปรึกษาระหว่างกัน 3.เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างโรงเรียน ชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการเฝ้าระวังและป้องกันปัญหายาเสพติด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.นักเรียนรู้เท่าทันโทษของยาเสพติด และหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงได้ดีขึ้น 2.นักเรียนเห็นคุณค่าของตนเอง มีความมั่นใจและเลือกทำสิ่งที่ดีในชีวิต 3.นักเรียนมีความสัมพันธ์ที่แน่นแฟ้นขึ้น กล้าพูดคุยและเข้าใจกันมากขึ้น 4.โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมที่ดี ห่างไกลจากยาเสพติด
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | วัตถุประสงค์ 1.เพื่อสร้างแรงบันดาลใจให้เยาวชนในการพัฒนาตนเองให้ห่างไกลจากยาเสพติด ผ่านความรู้ ความเข้าใจ และหลักศาสนา 2.เพื่อเสริมสร้างสายสัมพันธ์ที่ดีในกลุ่มเพื่อนและครอบครัว โดยการสนับสนุนให้เกิดการช่วยเหลือและให้คำปรึกษาระหว่างกัน 3.เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างโรงเรียน ชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการเฝ้าระวังและป้องกันปัญหายาเสพติด ตัวชี้วัด : ตัวชี้วัดความสำเร็จ ร้อยละ 80 ของนักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมและแสดงความเข้าใจเกี่ยวกับโทษของยาเสพติดและแนวทางการป้องกันตามหลักศาสนา ผ่านแบบประเมินก่อนและหลังการอบรม ร้อยละ 80 ของนักเรียนที่รายงานว่ามีความสัมพันธ์ที่ดีขึ้นกับกลุ่มเพื่อนและครอบครัว ผ่านแบบสอบถามหลังเข้าร่วมโครงการ จำนวนกิจกรรมเครือข่ายความร่วมมือที่จัดขึ้นร่วมกับภาครัฐและเอกชนเพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) วัตถุประสงค์ 1.เพื่อสร้างแรงบันดาลใจให้เยาวชนในการพัฒนาตนเองให้ห่างไกลจากยาเสพติด ผ่านความรู้ ความเข้าใจ และหลักศาสนา 2.เพื่อเสริมสร้างสายสัมพันธ์ที่ดีในกลุ่มเพื่อนและครอบครัว โดยการสนับสนุนให้เกิดการช่วยเหลือและให้คำปรึกษาระหว่างกัน 3.เพื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างโรงเรียน ชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการเฝ้าระวังและป้องกันปัญหายาเสพติด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเริ่มต้นใหม่ หัวใจไร้ยาเสพติด จังหวัด ยะลา
รหัสโครงการ 68-L8305-02-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายการันต์ วาแมยีซา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......