โครงการวัยรุ่นยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพตำบลป่าขาด
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการวัยรุ่นยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพตำบลป่าขาด ”
ตำบลป่าขาด อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางอินทิรา คงเมือง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าขาด
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการวัยรุ่นยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพตำบลป่าขาด
ที่อยู่ ตำบลป่าขาด อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 09/2568 เลขที่ข้อตกลง 09/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการวัยรุ่นยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพตำบลป่าขาด จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าขาด อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าขาด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการวัยรุ่นยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพตำบลป่าขาด
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการวัยรุ่นยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพตำบลป่าขาด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลป่าขาด อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 09/2568 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าขาด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการสำรวจสถิติประชากรไทย ของสำนักทะเบียนการปกครอง เมื่อเดือนธันวาคม
2566 มีจำนวนทั้งสิ้น 63,079,765 คน โดยแยกตามอายุพบว่า ประชากรกลุ่มวัยรุ่นมีจำนวนมาก ใน
กลุ่มมอายุ 10-19 ปี มีจำนวน 9,420,575 คน โดยมีเพศหญิงจำนวน 4,602,299 คน
4,818,276 คน ซึ่งวัยรุ่นเป็นวัยที่มีความสำคัญเนื่องจากเป็นช่วงวัยของการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้าน
ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคมเพื่อเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงถือเป็นสิ่งสำคัญ
ละอาจกล่าวได้ว่าเป็นวิกฤตแห่งชีวิตหากไม่สามารถปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลง
เหมาะสม หรือการได้รับข้อมูล การสนับสนุนจากครอบครัวและบุคคลรอบช้างก็อาจทำให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงไปในทางเหมาะสมได้เช่นกันจากค่านิยมในสังคมไทยในชนบทและชาวเขาที่นิยมส่ง
บุตรสาวไปประกอบอาชีพค้าประเวณี เพื่อเป็นการหารายได้จุนเจือครอบครัว สตรีวัยรุ่นกลุ่มนี้จึงจัดว่า
เป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการตกเป็นเหยื่อของขบวนแก็งโซเชียล ความรู้ในเรื่องเพศและการป้องกันการ
ตั้งครรภ์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การถูกล่อลวงให้ใช้สารเสพติด เรื่องโรคเรื้อรัง จึงมีมาก
ดังนั้นการได้รับข้อมูลที่ถูกต้องและการสนับสนุนจากครอบครัวและบุคคลรอบข้าง
บุคลากรทางการแพทย์และการศึกษาที่ต้องเข้าใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ทางสังคมและ
เศรษฐกิจปัจจุบันที่มีผลต่อสตรีวัยรุ่น ในการให้ความรู้ข้อมูลข่าวสารเพื่อให้เกิดการปรับตัว และเกิด
พฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะเพื่อลดปัญหาทางสุขภาพต่างๆที่อาจเกิดขึ้นได้ เช่น การถูกล่อลวงเพื่อ
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ปัญหาการดูแลสุขอนามัยที่ไม่เหมาะสม ปัญหาการคบเพื่อนต่างเพศ
การบริโภคไม่เหมาะสม เป็นต้น อีกทั้งปัญหาการปรับตัวของวัยรุ่นที่ขาดความรู้ ประสบการณ์และขาดการ
สนับสนุนจากผู้ปกครอง สถาบันการศึกษาและบุคลากรทีมสุขภาพ อาจนำไปสู่การมีพฤติกรรมเสียงทาง
สุขภาพ เช่น ปัญหาด้านอนามัยเจริญพันธุ์ เพศสัมพันธ์ การใช้สารเสพติด ปัญหาการคบเพื่อน เป็นต้น
การเตรียมความพร้อมเพื่อพัฒนาทักษะในการดูแลตนเองจะช่วยสร้างความตระหนักและปลุกจิตสำนึกให้แก่
วัยรุ่น เพื่อลดพฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่นที่มีผลต่อสุขภาพได้ จากการประเมินและค้นหาปัญหาของวัยรุ่นในศูนย์ชีวิตใหมโดยการสอบถามจากผู้บริหารและ
กลุ่มสตรีที่อยู่ในศูนย์ชีวิตใหม่ พบว่ามีปัญหาเกี่ยวกับการขาดความรู้ในเรื่องของเปลี่ยนแปลงทางด้าน
ร่างกาย การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล ทักษะการใช้ชีวิต ซึ่งคณะผู้จัดทำโครงการฯและ
ผู้บริหารศูนย์ชีวิตใหม่ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้ร่วมกันจัดทำโครงการ วัยรุ่นวัย
ใส ใส่ใจสุขภาพ เพื่อเป็นการให้ความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนตามพัฒนาการด้านต่างๆ สุขอนามัยการ
ปฏิบัติตัว และทักษะการใช้ชีวิตโดยให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ เมื่อสิ้นสุดโครงการผู้เข้าร่วม
โครงการมีความรู้ความเข้าใจสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ปรับตัวให้ผ่านภาวะวิกฤตและก้าวเข้าสู่
วัยผู้ใหญ่ได้อย่างมีคุณค่าต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 การเปลี่ยนแปลงตามพัฒนาการด้านต่างๆในวัยรุ่น
- สุขอนามัยและการปฏิบัติตัวในวัยรุ่น
- ทักษะชีวิตทางสังคม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ภายหลังสิ้นสุดโครงการ คาดว่าวัยรุ่นหมู่ที่1-3ตำบลป้าขาด ที่เข้าร่วมโครงการ สามารถนำ
2.ความรู้การเปลี่ยนแปลงตามพัฒนาการด้านต่างๆ สุขอนามัย การปฏิบัติตัว และทักษะชีวิตทางสังคมในวัยรุ่นไปใช้ในชีวิตประจำวัน
3.สามารถเผยแพร่แก่บุคคลรอบข้างที่อยู่ในวัยเดียวกันได้ และจะเป็นผลที่เกิดขึ้นในระยะยาว
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1 การเปลี่ยนแปลงตามพัฒนาการด้านต่างๆในวัยรุ่น
ตัวชี้วัด :
2
สุขอนามัยและการปฏิบัติตัวในวัยรุ่น
ตัวชี้วัด :
3
ทักษะชีวิตทางสังคม
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 การเปลี่ยนแปลงตามพัฒนาการด้านต่างๆในวัยรุ่น (2) สุขอนามัยและการปฏิบัติตัวในวัยรุ่น (3) ทักษะชีวิตทางสังคม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการวัยรุ่นยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพตำบลป่าขาด จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 09/2568
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางอินทิรา คงเมือง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการวัยรุ่นยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพตำบลป่าขาด ”
ตำบลป่าขาด อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางอินทิรา คงเมือง
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลป่าขาด อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 09/2568 เลขที่ข้อตกลง 09/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการวัยรุ่นยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพตำบลป่าขาด จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลป่าขาด อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าขาด ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการวัยรุ่นยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพตำบลป่าขาด
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการวัยรุ่นยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพตำบลป่าขาด " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลป่าขาด อำเภอสิงหนคร จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 09/2568 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,600.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ป่าขาด เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
จากการสำรวจสถิติประชากรไทย ของสำนักทะเบียนการปกครอง เมื่อเดือนธันวาคม
2566 มีจำนวนทั้งสิ้น 63,079,765 คน โดยแยกตามอายุพบว่า ประชากรกลุ่มวัยรุ่นมีจำนวนมาก ใน
กลุ่มมอายุ 10-19 ปี มีจำนวน 9,420,575 คน โดยมีเพศหญิงจำนวน 4,602,299 คน
4,818,276 คน ซึ่งวัยรุ่นเป็นวัยที่มีความสำคัญเนื่องจากเป็นช่วงวัยของการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้าน
ร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคมเพื่อเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ การปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงถือเป็นสิ่งสำคัญ
ละอาจกล่าวได้ว่าเป็นวิกฤตแห่งชีวิตหากไม่สามารถปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลง
เหมาะสม หรือการได้รับข้อมูล การสนับสนุนจากครอบครัวและบุคคลรอบช้างก็อาจทำให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงไปในทางเหมาะสมได้เช่นกันจากค่านิยมในสังคมไทยในชนบทและชาวเขาที่นิยมส่ง
บุตรสาวไปประกอบอาชีพค้าประเวณี เพื่อเป็นการหารายได้จุนเจือครอบครัว สตรีวัยรุ่นกลุ่มนี้จึงจัดว่า
เป็นกลุ่มเสี่ยงต่อการตกเป็นเหยื่อของขบวนแก็งโซเชียล ความรู้ในเรื่องเพศและการป้องกันการ
ตั้งครรภ์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ การถูกล่อลวงให้ใช้สารเสพติด เรื่องโรคเรื้อรัง จึงมีมาก
ดังนั้นการได้รับข้อมูลที่ถูกต้องและการสนับสนุนจากครอบครัวและบุคคลรอบข้าง
บุคลากรทางการแพทย์และการศึกษาที่ต้องเข้าใจเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงสถานการณ์ทางสังคมและ
เศรษฐกิจปัจจุบันที่มีผลต่อสตรีวัยรุ่น ในการให้ความรู้ข้อมูลข่าวสารเพื่อให้เกิดการปรับตัว และเกิด
พฤติกรรมที่ถูกต้องเหมาะเพื่อลดปัญหาทางสุขภาพต่างๆที่อาจเกิดขึ้นได้ เช่น การถูกล่อลวงเพื่อ
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ปัญหาการดูแลสุขอนามัยที่ไม่เหมาะสม ปัญหาการคบเพื่อนต่างเพศ
การบริโภคไม่เหมาะสม เป็นต้น อีกทั้งปัญหาการปรับตัวของวัยรุ่นที่ขาดความรู้ ประสบการณ์และขาดการ
สนับสนุนจากผู้ปกครอง สถาบันการศึกษาและบุคลากรทีมสุขภาพ อาจนำไปสู่การมีพฤติกรรมเสียงทาง
สุขภาพ เช่น ปัญหาด้านอนามัยเจริญพันธุ์ เพศสัมพันธ์ การใช้สารเสพติด ปัญหาการคบเพื่อน เป็นต้น
การเตรียมความพร้อมเพื่อพัฒนาทักษะในการดูแลตนเองจะช่วยสร้างความตระหนักและปลุกจิตสำนึกให้แก่
วัยรุ่น เพื่อลดพฤติกรรมเสี่ยงของวัยรุ่นที่มีผลต่อสุขภาพได้ จากการประเมินและค้นหาปัญหาของวัยรุ่นในศูนย์ชีวิตใหมโดยการสอบถามจากผู้บริหารและ
กลุ่มสตรีที่อยู่ในศูนย์ชีวิตใหม่ พบว่ามีปัญหาเกี่ยวกับการขาดความรู้ในเรื่องของเปลี่ยนแปลงทางด้าน
ร่างกาย การดูแลสุขอนามัยส่วนบุคคล ทักษะการใช้ชีวิต ซึ่งคณะผู้จัดทำโครงการฯและ
ผู้บริหารศูนย์ชีวิตใหม่ได้เล็งเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้ร่วมกันจัดทำโครงการ วัยรุ่นวัย
ใส ใส่ใจสุขภาพ เพื่อเป็นการให้ความรู้เกี่ยวกับการเปลี่ยนตามพัฒนาการด้านต่างๆ สุขอนามัยการ
ปฏิบัติตัว และทักษะการใช้ชีวิตโดยให้ความรู้เชิงปฏิบัติการ เมื่อสิ้นสุดโครงการผู้เข้าร่วม
โครงการมีความรู้ความเข้าใจสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน ปรับตัวให้ผ่านภาวะวิกฤตและก้าวเข้าสู่
วัยผู้ใหญ่ได้อย่างมีคุณค่าต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 การเปลี่ยนแปลงตามพัฒนาการด้านต่างๆในวัยรุ่น
- สุขอนามัยและการปฏิบัติตัวในวัยรุ่น
- ทักษะชีวิตทางสังคม
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ภายหลังสิ้นสุดโครงการ คาดว่าวัยรุ่นหมู่ที่1-3ตำบลป้าขาด ที่เข้าร่วมโครงการ สามารถนำ
2.ความรู้การเปลี่ยนแปลงตามพัฒนาการด้านต่างๆ สุขอนามัย การปฏิบัติตัว และทักษะชีวิตทางสังคมในวัยรุ่นไปใช้ในชีวิตประจำวัน
3.สามารถเผยแพร่แก่บุคคลรอบข้างที่อยู่ในวัยเดียวกันได้ และจะเป็นผลที่เกิดขึ้นในระยะยาว
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1 การเปลี่ยนแปลงตามพัฒนาการด้านต่างๆในวัยรุ่น ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | สุขอนามัยและการปฏิบัติตัวในวัยรุ่น ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | ทักษะชีวิตทางสังคม ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 การเปลี่ยนแปลงตามพัฒนาการด้านต่างๆในวัยรุ่น (2) สุขอนามัยและการปฏิบัติตัวในวัยรุ่น (3) ทักษะชีวิตทางสังคม
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการวัยรุ่นยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพตำบลป่าขาด จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ 09/2568
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางอินทิรา คงเมือง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......