กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ รู้เร็ว ช่วยทัน ป้องกันภัยสุขภาพ รพ.สต.เกาะนางคำ ปี 2568 ”
ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นางสุธาสินี หลำสุบ




ชื่อโครงการ รู้เร็ว ช่วยทัน ป้องกันภัยสุขภาพ รพ.สต.เกาะนางคำ ปี 2568

ที่อยู่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 68-L3333-01-04 เลขที่ข้อตกลง 03/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"รู้เร็ว ช่วยทัน ป้องกันภัยสุขภาพ รพ.สต.เกาะนางคำ ปี 2568 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
รู้เร็ว ช่วยทัน ป้องกันภัยสุขภาพ รพ.สต.เกาะนางคำ ปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " รู้เร็ว ช่วยทัน ป้องกันภัยสุขภาพ รพ.สต.เกาะนางคำ ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-L3333-01-04 ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,980.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

หลักการและเหตุผล กระทรวงสาธารณสุข ได้กำหนดยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข) เพื่อให้เกิดการพัฒนา อย่างมีประสิทธิภาพ กระแสปฏิรูประบบสุขภาพของไทยในปัจจุบัน ที่เน้นการ "สร้าง" มากกว่าการ "ซ่อม" สุขภาพ ซึ่งเป็นการเน้นระบบสุขภาพเชิงรุก และการสร้างเสริมสุขภาพ ให้ประชาชนมีความรอบรู้ด้านสุขภาวะสามารถดูแลสุขภาพตนเอง มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ สามารถป้องกันและลดความเสี่ยงของการเกิดโรคหรือโรคที่สามารถป้องกันได้ ให้เกิดเป็นสังคมบ่มเพาะจิตสำนึกการมีสุขภาพดีการเสียชีวิตของประชากรในประเทศไทยโดยส่วนใหญ่เกิดจากโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ โรคหลอดเลือด และหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง อุบัติเหตุ และการจมน้ำ ผู้ป่วยหรือผู้ได้รับบาดเจ็บเหล่านี้อาจมีอาการที่ผิดปกติเกิดขึ้นกับร่างกาย หรือบางรายอาจมีสภาวะการหยุดหายใจกะทันหัน ถ้าหากนานเกิน ๔ นาที แม้จะช่วยให้ฟื้นคืนชีพกลับมาได้ก็จะเกิดสภาวะการตายของสมองอย่างถาวร การได้รับการช่วยเหลือเบื้องต้นอย่างทันท่วงทีและถูกต้องและมีการส่งต่อผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บต่อไปยังแพทย์หรือสถานพยาบาลอย่างเหมาะสมรวดเร็วและถูกวิธี จะทำให้ผู้ป่วยหรือผู้บาดเจ็บ มีโอกาสรอดชีวิตและกลับคืนมาใช้ชีวิตเป็นปกติได้ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเกาะนางคำ ได้เห็นความจำเป็นและความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดโครงการ รู้เร็ว ช่วยทัน ป้องกันภัยสุขภาพ รพ.สต.เกาะนางคำ ในเขตพื้นที่รับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล เกาะนางคำ ประจำปีงบประมาณ 2568 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว ชุมชน ตลอดจนมีทักษะ และเจตคติที่ดีต่อการดูแลสุขภาพสามารถนำประโยชน์ไปใช้ช่วยเหลือผู้อื่นได้ในภาวะฉุกเฉิน ตลอดจนสามารถขยายผลเป็นผู้นำในการให้ความรู้ด้านสุขภาพสู่ครอบครัว ชุมชน และสังคมได้อย่างถูกต้องต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และ ชุมชนได้อย่างถูกต้องและสามารถเผยแพร่ความรู้ได้อย่างถูกต้อง
  2. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ และความเข้าใจเรื่อง การช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน (BLS) และการใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้าอัตโนมัติ (AED)”
  3. เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (BLS) และการใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้าอัตโนมัติ (AED) ได้อย่างถูกต้อง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ชี้แจงโครงการแก่ อสม. ทั้ง 86 คน จำนวน 1 ครั้ง
  2. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพ ส่วนบุคคล การจัดการภาวะฉุกเฉินด้านสุขภาพและอบรมเชิงปฏิบัติการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน (BLS)
  3. จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพ ส่วนบุคคล การจัดการภาวะฉุกเฉินด้านสุขภาพและอบรมเชิงปฏิบัติการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน (BLS)

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 62
กลุ่มวัยทำงาน 132
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพส่วนบุคคล การจัดการภาวะฉุกเฉินด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น ร้อยละ 85
  2. กลุ่มเป้าหมายตระหนักรู้และเข้าใจ ในการมีส่วนร่วมในการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐานและการใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้าแบบอัตโนมัติ (AED)
  3. กลุ่มเป้าหมายมีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น สามารถช่วยเหลือบุคคลใกล้ตัวได้อย่างถูกวิธีก่อนถึงโรงพยาบาล
  4. สามารถลดความเสี่ยงต่อการเสียชีวิต และลดค่าใช้จ่ายทางด้านค่ารักษาพยาบาล

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และ ชุมชนได้อย่างถูกต้องและสามารถเผยแพร่ความรู้ได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเองครอบครัว และชุมชน ร้อยละ 80
0.00

 

2 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ และความเข้าใจเรื่อง การช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน (BLS) และการใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้าอัตโนมัติ (AED)”
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่องการช่วยฟื้นชีวิตขั้นพื้นฐาน (BLS) และการใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติ (AED) ได้ถูกต้องร้อยละ 80
0.00

 

3 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (BLS) และการใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้าอัตโนมัติ (AED) ได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : กลุ่มเป้าหมายผ่านเกณฑ์การทดสอบรายบุคคลการช่วยชีวิตพื้นฐาน (BLS) และการใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้าหัวใจอัตโนมัติ (AED) ร้อยละ ๘๐
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 194
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 62
กลุ่มวัยทำงาน 132
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของตนเอง ครอบครัว และ ชุมชนได้อย่างถูกต้องและสามารถเผยแพร่ความรู้ได้อย่างถูกต้อง (2) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ และความเข้าใจเรื่อง การช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน (BLS) และการใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้าอัตโนมัติ (AED)” (3) เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีทักษะการช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน (BLS) และการใช้เครื่องกระตุกไฟฟ้าอัตโนมัติ (AED) ได้อย่างถูกต้อง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ชี้แจงโครงการแก่ อสม. ทั้ง 86 คน จำนวน 1 ครั้ง (2) จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพ ส่วนบุคคล การจัดการภาวะฉุกเฉินด้านสุขภาพและอบรมเชิงปฏิบัติการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน (BLS) (3) จัดอบรมให้ความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพ ส่วนบุคคล การจัดการภาวะฉุกเฉินด้านสุขภาพและอบรมเชิงปฏิบัติการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน (BLS)

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


รู้เร็ว ช่วยทัน ป้องกันภัยสุขภาพ รพ.สต.เกาะนางคำ ปี 2568 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 68-L3333-01-04

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสุธาสินี หลำสุบ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด