กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริม ป้องกันและเฝ้าระวังสุขภาพเด็กอายุ 0 - 5 ปี ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวสารีฟะห์ กาจิ




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริม ป้องกันและเฝ้าระวังสุขภาพเด็กอายุ 0 - 5 ปี ประจำปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ L-4137-68-01-004 เลขที่ข้อตกลง 05/68

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริม ป้องกันและเฝ้าระวังสุขภาพเด็กอายุ 0 - 5 ปี ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริม ป้องกันและเฝ้าระวังสุขภาพเด็กอายุ 0 - 5 ปี ประจำปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริม ป้องกันและเฝ้าระวังสุขภาพเด็กอายุ 0 - 5 ปี ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา รหัสโครงการ L-4137-68-01-004 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,620.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.พร่อน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สุขภาพเด็กที่ดี หมายถึง การเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ปราศจากโรคภัยคุกคาม จึงต้องวางรากฐานให้มีสุขภาพที่ดีที่ส่งผลต่อสติปัญญาในการเรียนรู้อย่างสมบูรณ์แบบ เพื่อพัฒนาการในการเจริญเติบโตของเด็กเป็นช่วงเวลาที่สำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็ก ซึ่งประกอบไปด้วยการส่งเสริมการเจริญเติบโตและพัฒนาการ เริ่มตั้งแต่การประเมินพัฒนาการ การตรวจการเจริญเติบโตด้วยการชั่งน้ำหนัก/วัดส่วนสูง เพื่อเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรคและการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก โดยมีข้อมูลและสถานการณ์    การดำเนินงาน ด้านสุขภาพเด็กโดยพบว่า เด็ก 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย ผลการดำเนินงานภาพรวมประเทศ  ด้านพัฒนาการเด็กอายุ 9 , 18 , 30 , 42 และ 60 เดือน มีการคัดกรองร้อยละ 92.5 (จากเป้าหมายร้อยละ 90) พบสงสัยล่าช้าร้อยละ 26.4 (จากเป้าหมายร้อยละ 20) ติดตามได้ร้อยละ 95 (จากเป้าหมายร้อยละ90) และมีพัฒนาการสมวัยร้อยละ 90.8 (จากเป้าหมายร้อยละ85) เด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ผลการดำเนินงานภาพประเทศร้อยละ 65 (จากเป้าหมาย > ร้อยละ 60) ภาวะโภชนาการความครอบคลุมการชั่งน้ำหนัก วัดความยาว/ส่วนสูง ของเด็กอายุ 0 – 5 ปี ภาพรวมประเทศ พบว่าการดำเนินงานยังต่ำกว่าค่าเป้าหมาย (ร้อยละ 90) คือ ร้อยละ 66.8 และการส่งเสริมสุขภาพช่องปาก การตรวจสุขภาพช่องปาก ภาพรวมประเทศ ได้ร้อยละ 45.2 การดำเนินงานยังต่ำกว่าค่าเป้าหมาย ร้อยละปราศจากฟันผุ มีแนวโน้มลดลง พบร้อยละ 74.6      การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพในเด็ก จึงต้องอาศัยความร่วมมือของบุคลากรหลายฝ่าย รวมทั้งครอบครัวต้องให้ความสำคัญในการสร้างเสริมพัฒนาการทุกด้านของเด็กดังนั้นคลินิกสุขภาพเด็กดี (WBC) ของทุกสถานบริการสาธารณสุขรวมถึงสถานศึกษาจึงเป็นสถานที่ซึ่งบุคลากรสาธารณสุขมีโอกาสพบเด็กสม่ำเสมอทำให้เหมาะสมในการดำเนินงานสร้างเสริมสุขภาพในเด็กอายุ 0-5 ปี อย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนื่องต่อไป จากข้อมูลสำรวจของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตาสา ตำบลพร่อน อำเภอเมือง ข้อมูลการประเมินพัฒนาการเด็ก ปีงบประมาณ 2567 พบว่า เด็กอายุ 0 - 5 ปี มีจำนวนทั้งหมด 294 คน ได้รับการ  คัดกรองจำนวน 293 คน คิดเป็นร้อยละ 99.66 มีพัฒนาการสมวัยในครั้งแรกจำนวน 198 คน คิดเป็นร้อยละ 67.35 สงสัยพัฒนาการล่าช้าคิดจำนวน 95 คน คิดเป็นร้อยละ 32.42 ภาวะโภชนาการความครอบคลุม    การชั่งน้ำหนัก วัดความยาว/ส่วนสูง ปี 2567 มีจำนวนทั้งหมด 365 คน ได้รับการชั่งน้ำหนักวัดส่วนสูง จำนวน 357 คน คิดเป็นร้อยละ 97.81 มีเด็กที่มีรูปร่างสูงดีสมวัย จำนวน 239 คน คิดเป็นร้อยละ 66.95      มีเด็กน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์จำนวน 35 คน คิดเป็นร้อยละ 9.95 การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค ทั้ง ๔ กลุ่มอายุ คือเด็กที่มีอายุครบ ๑ , ๒ , ๓ , และ 5 ปี ในปีงบประมาณ ๒๕๖7 พบว่า ผลงานความครอบคลุมการได้รับวัคซีนคิดเป็น ร้อยละ 79.17 , 80.00 , 75.76 , 74.58 ตามลำดับ และข้อมูลทันตสุขภาพเด็ก 0 – 5 ปี ปี พ.ศ. 256๗ จำนวนเด็กทั้งหมด ๙๘ คน ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากจำนวน 7๖ คน มีฟันผุจำนวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ ๗๗.๕๕ ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตาสา ตำบลพร่อน อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา  ได้เล็งเห็นถึงการส่งเสริม ป้องกัน และเฝ้าระวังสุขภาพเด็กในช่วงวัย 0-5 ปี ดังนั้นการส่งเสริมการป้องกันและดูแลสุขภาพตั้งแต่เริ่มต้นจะช่วยลดปัญหาสุขภาพในระยะยาวจึงได้จัดทำ โครงการส่งเสริม ป้องกัน และเฝ้าระวังสุขภาพเด็ก 0-5 ปีขึ้น เพื่อให้เกิดความเชื่อมโยงในการดูแลสุขภาพเด็กอย่างครอบคลุมในกลุ่มเป้าหมายดังกล่าวได้รับการดูแลอย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนื่องต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กอายุ 0 – 5 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการ และการกระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย
  2. .เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้แนวทางในการดูแลเด็กอายุ 0 – 5 ปี ที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์
  3. เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวัคซีนในเด็กอายุ 0-5 ปี
  4. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ และทักษะที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่มพ่อแม่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี
  2. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่มพ่อแม่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เด็กอายุ 0 – 5 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการ และการกระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย   2. ผู้ปกครองมีความรู้แนวทางในการดูแลเด็ก 0 – 6 ปี ที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์
      3. ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวัคซีนในเด็ก 0-5 ปี   4. ผู้ปกครองมีความรู้ และทักษะที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่มพ่อแม่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี

วันที่ 1 มีนาคม 2568 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.เพื่อให้เด็กอายุ 0 – 5 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการ และการกระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย

2.เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้แนวทางในการดูแลเด็กอายุ
0 – 5 ปี ที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์

3.เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวัคซีนในเด็กอายุ 0-5 ปี

4.เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ และทักษะที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.ร้อยละ 95 เด็กอายุ 0–5 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการและการกระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย 2.ร้อยละ 80 ผู้ปกครองมีความรู้แนวทางในการดูแลเด็กอายุ 0 – 5 ปี ที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ 3.ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ก่อนและหลังเพิ่มขึ้น 4.ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ และทักษะที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้เด็กอายุ 0 – 5 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการ และการกระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 95 เด็กอายุ 0–5 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการและการกระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย

 

2 .เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้แนวทางในการดูแลเด็กอายุ 0 – 5 ปี ที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ผู้ปกครองมีความรู้แนวทางในการดูแลเด็กอายุ 0 – 5 ปี ที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์

 

3 เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวัคซีนในเด็กอายุ 0-5 ปี
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ก่อนและหลังเพิ่มขึ้น

 

4 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ และทักษะที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ และทักษะที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กอายุ 0 – 5 ปี ได้รับการประเมินพัฒนาการ และการกระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย (2) .เพื่อให้ผู้ปกครองมีความรู้แนวทางในการดูแลเด็กอายุ  0 – 5 ปี ที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ (3) เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวัคซีนในเด็กอายุ 0-5 ปี (4) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายมีความรู้ และทักษะที่ถูกต้องในการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่มพ่อแม่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี (2) กิจกรรมอบรมให้ความรู้ในกลุ่มพ่อแม่ผู้ปกครองเด็กอายุ 0-5 ปี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริม ป้องกันและเฝ้าระวังสุขภาพเด็กอายุ 0 - 5 ปี ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ L-4137-68-01-004

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวสารีฟะห์ กาจิ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด