โครงการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ม.1
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ม.1 ”
ม.1 ตำบลดาโต๊ะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางซารีพะห์ มามะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดาโต๊ะ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ม.1
ที่อยู่ ม.1 ตำบลดาโต๊ะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L8421-02-09 เลขที่ข้อตกลง 09
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ม.1 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม.1 ตำบลดาโต๊ะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดาโต๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ม.1
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ม.1 " ดำเนินการในพื้นที่ ม.1 ตำบลดาโต๊ะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L8421-02-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดาโต๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานเป็นโรคไม่ติดต่อที่กำลังเป็นปัญหาสุขภาพของคนไทย จากการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างประชากร สภาวะเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม ทำให้มนุษย์มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการดำรงชีวิต ทำให้ปัญหาสุขภาพเปลี่ยนแปลงไป จากเดิมมีการเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อมากได้มีการพัฒนาการป้องกันที่ดีขึ้น การป่วยด้วยโรคติดต่อก็ลดลงเปลี่ยนมาเป็นโรคไม่ติดต่อ ซึ่งเป็นโรคที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการบริโภคของประชาชน เช่นโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน หัวใจและหลอดเลือดเป็นต้นในภาวะปัจจุบันมีการพัฒนาด้านต่างๆ การดำรงชีวิตประจำวัน มีการเร่งรีบ มีการแข่งขันในการทำงาน ส่งผลถึงการบริโภคก็เกิดความเปลี่ยนแปลง ไม่คำนึงถึงหลักโภชนาการร่างกายจึงขาดความสมดุลของสารอาหาร เช่น เกิดภาวะอ้วน โอกาสเกิดคอเลสเตอรอลในเลือดสูง ทำให้เส้นเลือดเกิดตีบแคบ ซึ่งเป็นสาเหตุของการเกิดโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน ยิ่งขาดการออกกำลังกาย อายุมากขึ้นหรือมีความเครียดในการดำเนินชีวิตประจำวัน ทำให้เสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน หากเปรียบเทียบระหว่างครอบครัวที่มีสมาชิกในครอบครัวเป็นโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานกับครอบครัวที่สมาชิกไม่เป็นโรคย่อมมีความแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัดสมาชิกในครอบครัวที่ไม่เป็นโรคมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง สามารถทำงานทำรายได้มาสู่ครอบครัว ทำให้มีฐานะทางเศรษฐกิจมั่นคง ส่งผลให้ครอบครัวมีความเป็นอยู่อย่างมีความสุข ตรงกันข้ามกับครอบครัวที่มีสมาชิกในครอบครัวเป็นโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ทำให้ครอบครัวสูญเสียแรงงาน สูญเสียรายได้ และยังเพิ่มค่าใช้จ่ายในการรักษาสุขภาพร่างกาย ทำให้เศรษฐกิจของครอบครัวมีรายได้น้อย
สำหรับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดาโต๊ะ มีพื้นที่รับผิดชอบ จำนวน 5 หมู่บ้าน มีประชากรกลุ่ม อายุ ๓5 ปี ขึ้นไป จำนวน 1,๐๕๑ ราย พบว่าเป็นโรคเบาหวาน จำนวน 23 ราย เป็นโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 100 ราย ส่วนสถานการณ์การเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังในพื้นที่ ม.1 ต.ดาโต๊ะ มีประชากรกลุ่ม อายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป จำนวน ๓๑๙ ราย พบว่าเป็นโรคเบาหวาน จำนวน 5 ราย เป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 18 ราย เป็นทั้งโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน จำนวน 13 ราย ปัญหาส่วนใหญ่ที่เกิดขึ้นมีประชาชนกลุ่มเป้าหมายยังไม่ทราบว่าตนเองหรือบุคคลในครอบครัวมีภาวะเสี่ยงที่จะเป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ทำให้ขาดความตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเองและบุคคลในครอบครัว ดังนั้น ได้เล็งเห็นความสำคัญว่าสื่อรณรงค์เป็นอีกช่องทางหนึ่งที่สามารถเข้าถึงประชาชนในพื้นที่ เพื่อให้ประชาชนเกิดความตระหนักและสามารถสร้างกระแสในการดูแลสุขภาพเพื่อลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ส่งผลให้ประชาชนดำเนินชีวิตอย่างเป็นปกติสุขต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับ การคัดกรองความดัน และเบาหวาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดประชุมชี้แจง
- ออกหน่วยคัดกรอง
- ติดตามหลังจากคัดกรอง 1 เดือน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
95
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
กลุ่มเป้าหมายอายุ ๓5 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองความดัน และเบาหวาน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับ การคัดกรองความดัน และเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองความดัน และเบาหวาน
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
95
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
95
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
0
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับ การคัดกรองความดัน และเบาหวาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมชี้แจง (2) ออกหน่วยคัดกรอง (3) ติดตามหลังจากคัดกรอง 1 เดือน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ม.1 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L8421-02-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางซารีพะห์ มามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ม.1 ”
ม.1 ตำบลดาโต๊ะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางซารีพะห์ มามะ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ม.1 ตำบลดาโต๊ะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L8421-02-09 เลขที่ข้อตกลง 09
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ม.1 จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ม.1 ตำบลดาโต๊ะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดาโต๊ะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ม.1
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ม.1 " ดำเนินการในพื้นที่ ม.1 ตำบลดาโต๊ะ อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L8421-02-09 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดาโต๊ะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานเป็นโรคไม่ติดต่อที่กำลังเป็นปัญหาสุขภาพของคนไทย จากการเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างประชากร สภาวะเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม ทำให้มนุษย์มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการดำรงชีวิต ทำให้ปัญหาสุขภาพเปลี่ยนแปลงไป จากเดิมมีการเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อมากได้มีการพัฒนาการป้องกันที่ดีขึ้น การป่วยด้วยโรคติดต่อก็ลดลงเปลี่ยนมาเป็นโรคไม่ติดต่อ ซึ่งเป็นโรคที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการบริโภคของประชาชน เช่นโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน หัวใจและหลอดเลือดเป็นต้นในภาวะปัจจุบันมีการพัฒนาด้านต่างๆ การดำรงชีวิตประจำวัน มีการเร่งรีบ มีการแข่งขันในการทำงาน ส่งผลถึงการบริโภคก็เกิดความเปลี่ยนแปลง ไม่คำนึงถึงหลักโภชนาการร่างกายจึงขาดความสมดุลของสารอาหาร เช่น เกิดภาวะอ้วน โอกาสเกิดคอเลสเตอรอลในเลือดสูง ทำให้เส้นเลือดเกิดตีบแคบ ซึ่งเป็นสาเหตุของการเกิดโรคความดันโลหิตสูง และโรคเบาหวาน ยิ่งขาดการออกกำลังกาย อายุมากขึ้นหรือมีความเครียดในการดำเนินชีวิตประจำวัน ทำให้เสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน หากเปรียบเทียบระหว่างครอบครัวที่มีสมาชิกในครอบครัวเป็นโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวานกับครอบครัวที่สมาชิกไม่เป็นโรคย่อมมีความแตกต่างกันอย่างเห็นได้ชัดสมาชิกในครอบครัวที่ไม่เป็นโรคมีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรง สามารถทำงานทำรายได้มาสู่ครอบครัว ทำให้มีฐานะทางเศรษฐกิจมั่นคง ส่งผลให้ครอบครัวมีความเป็นอยู่อย่างมีความสุข ตรงกันข้ามกับครอบครัวที่มีสมาชิกในครอบครัวเป็นโรคความดันโลหิตสูงและเบาหวาน ทำให้ครอบครัวสูญเสียแรงงาน สูญเสียรายได้ และยังเพิ่มค่าใช้จ่ายในการรักษาสุขภาพร่างกาย ทำให้เศรษฐกิจของครอบครัวมีรายได้น้อย สำหรับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดาโต๊ะ มีพื้นที่รับผิดชอบ จำนวน 5 หมู่บ้าน มีประชากรกลุ่ม อายุ ๓5 ปี ขึ้นไป จำนวน 1,๐๕๑ ราย พบว่าเป็นโรคเบาหวาน จำนวน 23 ราย เป็นโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 100 ราย ส่วนสถานการณ์การเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังในพื้นที่ ม.1 ต.ดาโต๊ะ มีประชากรกลุ่ม อายุ ๓๕ ปี ขึ้นไป จำนวน ๓๑๙ ราย พบว่าเป็นโรคเบาหวาน จำนวน 5 ราย เป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 18 ราย เป็นทั้งโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน จำนวน 13 ราย ปัญหาส่วนใหญ่ที่เกิดขึ้นมีประชาชนกลุ่มเป้าหมายยังไม่ทราบว่าตนเองหรือบุคคลในครอบครัวมีภาวะเสี่ยงที่จะเป็นโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ทำให้ขาดความตระหนักในการดูแลสุขภาพของตนเองและบุคคลในครอบครัว ดังนั้น ได้เล็งเห็นความสำคัญว่าสื่อรณรงค์เป็นอีกช่องทางหนึ่งที่สามารถเข้าถึงประชาชนในพื้นที่ เพื่อให้ประชาชนเกิดความตระหนักและสามารถสร้างกระแสในการดูแลสุขภาพเพื่อลดอัตราการเจ็บป่วยด้วยโรคที่สามารถป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ส่งผลให้ประชาชนดำเนินชีวิตอย่างเป็นปกติสุขต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับ การคัดกรองความดัน และเบาหวาน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- จัดประชุมชี้แจง
- ออกหน่วยคัดกรอง
- ติดตามหลังจากคัดกรอง 1 เดือน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 95 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
กลุ่มเป้าหมายอายุ ๓5 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองความดัน และเบาหวาน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับ การคัดกรองความดัน และเบาหวาน ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับการคัดกรองความดัน และเบาหวาน |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 95 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 95 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 0 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้รับ การคัดกรองความดัน และเบาหวาน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) จัดประชุมชี้แจง (2) ออกหน่วยคัดกรอง (3) ติดตามหลังจากคัดกรอง 1 เดือน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการคัดกรองโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ม.1 จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L8421-02-09
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางซารีพะห์ มามะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......