กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลพิมาน อำเภอเมือง จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
นางซาฮีดา สะกานดา




ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง ประจำปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลพิมาน อำเภอเมือง จังหวัดสตูล จังหวัด

รหัสโครงการ 68-L8008-05-26 เลขที่ข้อตกลง 26/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 31 ตุลาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลพิมาน อำเภอเมือง จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง ประจำปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลพิมาน อำเภอเมือง จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 68-L8008-05-26 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 31 ตุลาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสตูล เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคติดต่อนำโดยแมลงยังเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของประเทศไทย โดยเฉพาะในเขตที่มีสภาพภูมิอากาศร้อนชื้น ซึ่งเอื้อต่อการแพร่ระบาดของแมลงพาหะ โดยเฉพาะโรคที่มียุงเป็นพาหะนำโรค อย่างโรคไข้เลือดออก มาลาเรีย โรคเท้าช้าง เป็นต้น ในหลายพื้นที่ของประเทศไทยยังพบคงการแพร่ระบาดของโรคที่มียุงเป็นพาหะนำโรค รวมถึงในพื้นที่ตำบลพิมาน อำเภอเมือง จังหวัดสตูล ตำบลพิมาน ซึ่งเป็นตำบลที่อยู่ในเขตพื้นที่รับผิดชอบเทศบาลเมืองสตูล เนื่องจากเป็นพื้นที่ที่มีแหล่งน้ำธรรมชาติและแหล่งน้ำขังหลายแห่ง ประกอบกับสภาพแวดล้อมทางกายภาพและพฤติกรรมของประชากรที่ยังขาดความตระหนักในการป้องกันโรคฯอย่างถูกต้อง ส่งผลให้ยังคงพบประชาชนที่มีการเจ็บป่วยด้วยโรคดังกล่าวและจะมีเพิ่มขึ้นในช่วงฤดูฝน จากข้อมูลของงานระบาดวิทยาและควบคุมโรค โรงพยาบาลสตูลได้รายงานสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกในพื้นที่จังหวัดสตูลยังคงมีอัตราป่วยสะสมของโรคไข้เลือดออกอย่างต่อเนื่อง โดยในปี2567 พบมีจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกตั้งแต่วันที่ 1 เดือนมกราคม พ.ศ. 2567 จนถึงวันที่ 24 เดือน กันยายน พ.ศ.2567 จำนวน 15 ราย อัตราป่วย 63.4 /แสนประชากร แม้จำนวนผู้ป่วยจะลดลงจาก ปี 2566 ซึ่งเฉพาะเดือนมากราคม - พฤษภาคม 2566 พบผู้ป่วยไข้เลือดออก 24ราย (อัตราป่วย 80.2 ต่อประชากรแสนคน) แล้ว (ที่มา : งานระบาดวิทยาและควบคุมโรค โรงพยาบาลสตูล ข้อมูล ระหว่างวันที่ 1-22 พฤษภาคม 2566) และคงมีแนวโน้มที่จะพบผู้ป่วยอีกในปี 2568 จากรายงานดังกล่าวแสดงให้ถึงความสำคัญของการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงอย่างต่อเนื่อง โดยการกำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลายและฉีดพ่นหมอกควันกำจัดยุงลาย ควบคู่ไปกับการความรู้ความเข้าใจด้านการป้องกันตนเองจากโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ถูกต้องแก่ประชาชน รวมถึงการจัดหาเวชภัณฑ์สำหรับดูแลและป้องกันตัวเองในเบื้องต้นจากยุงลายและแมลนำโรคอื่นๆ อาทิเช่น ยาทากันยุง ยาจุดกันยุง เป็นต้น และด้วย เทศบาลเมืองสตูล มีหน้าที่ดำเนินการป้องกันและระงับโรคติดต่อ ตามพระราชบัญญัติเทศบาล พ.ศ.2496 มาตรา 50 (4) เทศบาลเมืองสตูลตระหนักถึงอันตรายของการแพร่ระบาดและการเจ็บป่วยด้วยโรคติดต่อนำโดยแมลง โดยเฉพาะโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะนำโรคนั้น อีกทั้งได้ให้ความสำคัญของการควบคุมการแพร่ระบาดของโรคดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง เทศบาลเมืองสตูล โดยกองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม ฝ่ายบริการงานสาธารณสุข งานป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง ประจำปีงบประมาณ 2568 เพื่อดำเนินการป้องกัน ควบคุม และระงับการแพร่ระบาดของโรคติดต่อนำโดยแมลงในพื้นที่เขตเทศบาลเมืองสตูล ให้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง มีประสิทธิภาพแมากขึ้น คลอบคลุมทุกพื้นที่รับผิดชอบและทันต่อสถานการณ์การแพร่ระบาด เพื่อให้สถานศึกษาและชุมชน ประชาชนในพื้นที่เขตเทศบาลเมืองสตูลปลอดภัยจากโรคติดต่อนำโดยแมลงต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อดำเนินการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดต่อโดยแมลงในพื้นที่เขตเทศบาลเมืองสตูลอย่างต่อเนื่อง
  2. เพื่อเตรียมความพร้อมด้านเวชภัณฑ์ในการป้องกันตนเองให้แก่ประชาชน กรณีพบผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
  3. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจด้านการป้องกันตนเองจากโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ถูกต้อง
  4. เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วยโรคติดต่อนำโดยแมลง โดยเฉพาะโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะของประชาชน
  5. เพื่อป้องกันการเสียชีวิตของผู้ป่วยไข้เลือดออก

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลายและฉีดพ่นหมอกควันกำจัดยุงลายในสถานศึกษาและชุมชนในพื้นที่เขตเทศบาลเมืองสตูล
  2. กิจกรรมรู้เท่าทัน ป้องกันได้ ปลอดภัยจากแมลงนำโรค

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 21,110
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.สามารถป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดต่อโดยแมลงในพื้นที่เขตเทศบาลเมืองสตูลอย่างต่อเนื่อง 2.ระดับความชุกแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายและยุงลายในชุมชนพื้นที่เขตเทศบาลเมืองสตูลลดลง 3.ประชาชนมีเวชภัณฑ์สำหรับดูแลและป้องกันตัวเองในเบื้องต้นจากยุงลายและแมลนำโรคอื่นๆ 4.ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจด้านการป้องกันตนเองจากโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ถูกต้อง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อดำเนินการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดต่อโดยแมลงในพื้นที่เขตเทศบาลเมืองสตูลอย่างต่อเนื่อง
ตัวชี้วัด : สถานการณ์การระบาดของโรคติดต่อนำโดยแมลง กรณี โรคที่มียุงเป็นพาหะนำโรคในพื้นที่เขตเทศบาลเมืองสตูลลดลงจากปี่ที่แล้ว ปี 2567 (กล่าวคือ ปี2567 มีอัตราการระบาดของโรคติดต่อนำโดยแมลง กรณี โรคที่มียุงเป็นพาหะนำโรค อยู่ที่ 1.73 ต่อแสนประชากร
1.73 1.00

 

2 เพื่อเตรียมความพร้อมด้านเวชภัณฑ์ในการป้องกันตนเองให้แก่ประชาชน กรณีพบผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของประชาชนพื้นที่เสี่ยงการระบาดมีเวชภัณฑ์สำหรับดูแลและป้องกันตัวเองเบื้องต้นจากด้วยโรคติดต่อนำโดยแมลง โดยเฉพาะโรคที่มียุงเป็นพาหะนำโรค
70.00 100.00

 

3 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจด้านการป้องกันตนเองจากโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้องละ100 ของประชาชนมีความรู้ความเข้าใจด้านการป้องกันตนเองจากโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ถูกต้องมากขึ้น
60.00 100.00

 

4 เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วยโรคติดต่อนำโดยแมลง โดยเฉพาะโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะของประชาชน
ตัวชี้วัด : อัตราการผู้ป่วยด้วยโรคติดต่อโดยแมลง โดยเฉพาะโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะในพื้นที่เขตเทศบาลเมืองสตูลลดลงจากปี่ที่แล้ว ปี 2567 (กล่าวคือ ปี2567 โดยในปีนี้พบมีจำนวนผู้ป่วยไข้เลือดออกตั้งแต่วันที่ 1 เดือนมกราคม พ.ศ. 2567 จนถึงวันที่ 24 เดือน กันยายน พ.ศ.2567 จำนวน 15 ราย อัตราป่วย 63.4 /แสนประชากร
63.40 50.00

 

5 เพื่อป้องกันการเสียชีวิตของผู้ป่วยไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : ไม่พบผู้เสียชีวิตด้วยโรคไข้เลือดออก
0.00 0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 21110
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 21,110
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อดำเนินการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคติดต่อโดยแมลงในพื้นที่เขตเทศบาลเมืองสตูลอย่างต่อเนื่อง (2) เพื่อเตรียมความพร้อมด้านเวชภัณฑ์ในการป้องกันตนเองให้แก่ประชาชน กรณีพบผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก (3) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจด้านการป้องกันตนเองจากโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ถูกต้อง (4) เพื่อลดอัตราการเจ็บป่วยโรคติดต่อนำโดยแมลง โดยเฉพาะโรคติดต่อที่มียุงเป็นพาหะของประชาชน (5) เพื่อป้องกันการเสียชีวิตของผู้ป่วยไข้เลือดออก

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลายและฉีดพ่นหมอกควันกำจัดยุงลายในสถานศึกษาและชุมชนในพื้นที่เขตเทศบาลเมืองสตูล (2) กิจกรรมรู้เท่าทัน ป้องกันได้ ปลอดภัยจากแมลงนำโรค

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลง ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด

รหัสโครงการ 68-L8008-05-26

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางซาฮีดา สะกานดา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด