โครงการอบรมให้ความรู้ร้านชํามาตรฐานผู้ประกอบการมีความรู้ สู่การบริโภคอย่างปลอดภัย ปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอบรมให้ความรู้ร้านชํามาตรฐานผู้ประกอบการมีความรู้ สู่การบริโภคอย่างปลอดภัย ปี 2568 ”
ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสินีนาถ หลำสะ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนเสาธง
มิถุนายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้ร้านชํามาตรฐานผู้ประกอบการมีความรู้ สู่การบริโภคอย่างปลอดภัย ปี 2568
ที่อยู่ ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3329-1-02 เลขที่ข้อตกลง 21/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 มิถุนายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมให้ความรู้ร้านชํามาตรฐานผู้ประกอบการมีความรู้ สู่การบริโภคอย่างปลอดภัย ปี 2568 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนเสาธง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้ร้านชํามาตรฐานผู้ประกอบการมีความรู้ สู่การบริโภคอย่างปลอดภัย ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้ร้านชํามาตรฐานผู้ประกอบการมีความรู้ สู่การบริโภคอย่างปลอดภัย ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-L3329-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 มิถุนายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,206.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนเสาธง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันนี้ร้านขายของชําในหมู่บ้านถือได้ว่าเป็นแหล่งกระจายสินค้าประเภทต่างๆ ให้แก่ผู้บริโภคในพื้นที่ ซึ่งส่วนใหญ่นิยมจับจ่ายใช้สอยเครื่องอุปโภคและบริโภคจากร้านขายของชําภายในหมู่บ้าน ไม่ว่าจะเป็นอาหารเครื่องสําอาง ยา ของใช้ต่างๆ ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับสุขภาพทั้งสิ้นและยังพบว่ามีการจําหน่ายสินค้าที่ไม่ได้คุณภาพ มาตรฐาน และไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภคในชุมชน เช่น ยาผสมสารสเตียรอย เครื่องสําอางมีสารอันตราย อาหารมีสาร ปนเปื้อนเจือปนอยู่ ซึ่งอาจก่อให้เกิดโรคหรืออันตรายต่อสุขภาพผู้บริโภค โดยปัจจัยต่างๆ เช่น การโฆษณาชวนเชื่อการให้ข้อมูลที่ไม่ตรงกับความเป็นจริงหรือระดับการรับรู้ของบุคคลย่อมมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริโภคของบุคคล ทั้งสิ้น หากผู้บริโภคมีความรู้และทักษะในการเลือกสินค้าที่ถูกต้องก็จะได้สินค้าที่มีคุณภาพ และมีความปลอดภัยสูง
เทศบาลควนเสาธง มีสถานประกอบการต่าง ๆ จํานวนมาก เช่น ร้านอาหาร ร้านแผงลอย รถเร่ขายยา ตลาดนัด ร้านขายของชําในหมู่บ้านประกอบกับในยุคปัจจุบันบ้านเมืองมีความเจริญก้าวหน้า มีเทคโนโลยีที่ทันสมัย การโฆษณาชวนเชื่อต่างๆเข้าถึงได้ง่าย และรวดเร็ว จึงมีความสะดวกในการซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพต่างๆโดยเฉพาะ การเลือกซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพจากร้านชําในพื้นที่ซึ่งเป็นแหล่งกระจายสินค้าประเภทต่าง ๆ ให้แก่ผู้บริโภคในพื้นที่ เพื่อนํามาใช้ตอบสนองต่อความต้องการของตนเอง ไม่ว่าจะเป็นอาหาร เครื่องสําอาง ยาหรือของใช้ต่าง ๆ เครื่องอุปโภค บริโภค ซึ่งหากผู้บริโภคในพื้นที่ยังมีความเชื่อความเข้าใจที่ผิด ขาดทักษะความรู้ที่ถูกต้อง และมีพฤติกรรมการเลือกซื้อและใช้ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้คุณภาพมาตรฐาน ก็อาจจะตกเป็นเหยื่อและได้รับอันตราย จากอุปโภคและบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้คุณภาพมาตรฐานได้ง่าย
ในการนี้ กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลตะโหมด ได้เล็งเห็นว่าการพัฒนาร้านขายของชําในหมู่บ้านจะช่วยส่งเสริมให้ประชาชนมีความปลอดภัยและมีความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยลดน้อยลงไปได้จึงได้จัดทําโครงการอบรมให้ความรู้ร้านชํามาตรฐานผู้ประกอบการมีความรู้ สู่การบริโภคอย่างปลอดภัยปีงบประมาณ 2568 เพื่อให้ผู้บริโภค และผู้ประกอบการในพื้นที่มีความรู้และมีทักษะในการเลือกซื้อสินค้าที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน ไม่มีสารเคมีอันตรายเจือปนอยู่ มีการสํารวจเฝ้าระวังเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้กับผู้บริโภค ส่งเสริมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ร้านขายของชําได้รับการพัฒนาให้มีคุณภาพ ส่งผลให้ผู้บริโภค มีความปลอดภัย จากการอุปโภคและบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพ ไม่ก่อให้เกิดโรค การแพ้และอันตราย ต่อสุขภาพของคนในพื้นที่
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านชํา และตัวแทนภาคประชาชน มีความรู้เรื่องความปลอดภัยของอาหาร ยา และเครื่องสําอาง
- เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านชํา และตัวแทนภาคประชาชน มีทักษะในการใช้ชุดทอสอบทั้ง 3 ตัวอย่าง ได้ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
32
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้ประกอบการร้านชํา ตัวแทนภาคประชาชน มีความรู้ เรื่องความปลอดภัยของอาหาร ยา และเครื่องสําอาง ร้อยละ 80
2.ผู้ประกอบการร้านชํา และตัวแทนภาคประชาชน มีความเข้าใจถึงอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับผู้บริโภค จากการใช้ยา และทราบบทลงโทษทางกฎหมาย เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่นํายาชุด ยาปฏิชีวนะ ยาลูกกลอน ยาอันตราย มาจําหน่ายในร้านชําในชุมชน ร้อยละ 80
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านชํา และตัวแทนภาคประชาชน มีความรู้เรื่องความปลอดภัยของอาหาร ยา และเครื่องสําอาง
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านชํา และตัวแทนภาคประชาชน มีทักษะในการใช้ชุดทอสอบทั้ง 3 ตัวอย่าง ได้ถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
32
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
32
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านชํา และตัวแทนภาคประชาชน มีความรู้เรื่องความปลอดภัยของอาหาร ยา และเครื่องสําอาง (2) เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านชํา และตัวแทนภาคประชาชน มีทักษะในการใช้ชุดทอสอบทั้ง 3 ตัวอย่าง ได้ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอบรมให้ความรู้ร้านชํามาตรฐานผู้ประกอบการมีความรู้ สู่การบริโภคอย่างปลอดภัย ปี 2568 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3329-1-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวสินีนาถ หลำสะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอบรมให้ความรู้ร้านชํามาตรฐานผู้ประกอบการมีความรู้ สู่การบริโภคอย่างปลอดภัย ปี 2568 ”
ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางสาวสินีนาถ หลำสะ
มิถุนายน 2568
ที่อยู่ ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3329-1-02 เลขที่ข้อตกลง 21/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 มิถุนายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอบรมให้ความรู้ร้านชํามาตรฐานผู้ประกอบการมีความรู้ สู่การบริโภคอย่างปลอดภัย ปี 2568 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนเสาธง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้ร้านชํามาตรฐานผู้ประกอบการมีความรู้ สู่การบริโภคอย่างปลอดภัย ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้ร้านชํามาตรฐานผู้ประกอบการมีความรู้ สู่การบริโภคอย่างปลอดภัย ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-L3329-1-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 มิถุนายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 9,206.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนเสาธง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันนี้ร้านขายของชําในหมู่บ้านถือได้ว่าเป็นแหล่งกระจายสินค้าประเภทต่างๆ ให้แก่ผู้บริโภคในพื้นที่ ซึ่งส่วนใหญ่นิยมจับจ่ายใช้สอยเครื่องอุปโภคและบริโภคจากร้านขายของชําภายในหมู่บ้าน ไม่ว่าจะเป็นอาหารเครื่องสําอาง ยา ของใช้ต่างๆ ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับสุขภาพทั้งสิ้นและยังพบว่ามีการจําหน่ายสินค้าที่ไม่ได้คุณภาพ มาตรฐาน และไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภคในชุมชน เช่น ยาผสมสารสเตียรอย เครื่องสําอางมีสารอันตราย อาหารมีสาร ปนเปื้อนเจือปนอยู่ ซึ่งอาจก่อให้เกิดโรคหรืออันตรายต่อสุขภาพผู้บริโภค โดยปัจจัยต่างๆ เช่น การโฆษณาชวนเชื่อการให้ข้อมูลที่ไม่ตรงกับความเป็นจริงหรือระดับการรับรู้ของบุคคลย่อมมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริโภคของบุคคล ทั้งสิ้น หากผู้บริโภคมีความรู้และทักษะในการเลือกสินค้าที่ถูกต้องก็จะได้สินค้าที่มีคุณภาพ และมีความปลอดภัยสูง เทศบาลควนเสาธง มีสถานประกอบการต่าง ๆ จํานวนมาก เช่น ร้านอาหาร ร้านแผงลอย รถเร่ขายยา ตลาดนัด ร้านขายของชําในหมู่บ้านประกอบกับในยุคปัจจุบันบ้านเมืองมีความเจริญก้าวหน้า มีเทคโนโลยีที่ทันสมัย การโฆษณาชวนเชื่อต่างๆเข้าถึงได้ง่าย และรวดเร็ว จึงมีความสะดวกในการซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพต่างๆโดยเฉพาะ การเลือกซื้อผลิตภัณฑ์สุขภาพจากร้านชําในพื้นที่ซึ่งเป็นแหล่งกระจายสินค้าประเภทต่าง ๆ ให้แก่ผู้บริโภคในพื้นที่ เพื่อนํามาใช้ตอบสนองต่อความต้องการของตนเอง ไม่ว่าจะเป็นอาหาร เครื่องสําอาง ยาหรือของใช้ต่าง ๆ เครื่องอุปโภค บริโภค ซึ่งหากผู้บริโภคในพื้นที่ยังมีความเชื่อความเข้าใจที่ผิด ขาดทักษะความรู้ที่ถูกต้อง และมีพฤติกรรมการเลือกซื้อและใช้ผลิตภัณฑ์ที่ไม่ได้คุณภาพมาตรฐาน ก็อาจจะตกเป็นเหยื่อและได้รับอันตราย จากอุปโภคและบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้คุณภาพมาตรฐานได้ง่าย ในการนี้ กลุ่มงานบริการด้านปฐมภูมิและองค์รวม โรงพยาบาลตะโหมด ได้เล็งเห็นว่าการพัฒนาร้านขายของชําในหมู่บ้านจะช่วยส่งเสริมให้ประชาชนมีความปลอดภัยและมีความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยลดน้อยลงไปได้จึงได้จัดทําโครงการอบรมให้ความรู้ร้านชํามาตรฐานผู้ประกอบการมีความรู้ สู่การบริโภคอย่างปลอดภัยปีงบประมาณ 2568 เพื่อให้ผู้บริโภค และผู้ประกอบการในพื้นที่มีความรู้และมีทักษะในการเลือกซื้อสินค้าที่มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน ไม่มีสารเคมีอันตรายเจือปนอยู่ มีการสํารวจเฝ้าระวังเพื่อสร้างภูมิคุ้มกันให้กับผู้บริโภค ส่งเสริมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ร้านขายของชําได้รับการพัฒนาให้มีคุณภาพ ส่งผลให้ผู้บริโภค มีความปลอดภัย จากการอุปโภคและบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพ ไม่ก่อให้เกิดโรค การแพ้และอันตราย ต่อสุขภาพของคนในพื้นที่
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านชํา และตัวแทนภาคประชาชน มีความรู้เรื่องความปลอดภัยของอาหาร ยา และเครื่องสําอาง
- เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านชํา และตัวแทนภาคประชาชน มีทักษะในการใช้ชุดทอสอบทั้ง 3 ตัวอย่าง ได้ถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 32 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้ประกอบการร้านชํา ตัวแทนภาคประชาชน มีความรู้ เรื่องความปลอดภัยของอาหาร ยา และเครื่องสําอาง ร้อยละ 80 2.ผู้ประกอบการร้านชํา และตัวแทนภาคประชาชน มีความเข้าใจถึงอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับผู้บริโภค จากการใช้ยา และทราบบทลงโทษทางกฎหมาย เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไม่นํายาชุด ยาปฏิชีวนะ ยาลูกกลอน ยาอันตราย มาจําหน่ายในร้านชําในชุมชน ร้อยละ 80
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านชํา และตัวแทนภาคประชาชน มีความรู้เรื่องความปลอดภัยของอาหาร ยา และเครื่องสําอาง ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านชํา และตัวแทนภาคประชาชน มีทักษะในการใช้ชุดทอสอบทั้ง 3 ตัวอย่าง ได้ถูกต้อง ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 32 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 32 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านชํา และตัวแทนภาคประชาชน มีความรู้เรื่องความปลอดภัยของอาหาร ยา และเครื่องสําอาง (2) เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านชํา และตัวแทนภาคประชาชน มีทักษะในการใช้ชุดทอสอบทั้ง 3 ตัวอย่าง ได้ถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอบรมให้ความรู้ร้านชํามาตรฐานผู้ประกอบการมีความรู้ สู่การบริโภคอย่างปลอดภัย ปี 2568 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3329-1-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวสินีนาถ หลำสะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......