กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการหยุดก่อน Stroke ป้องกันได้ ”
ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางสาวยามิล๊ะ แว้ง




ชื่อโครงการ โครงการหยุดก่อน Stroke ป้องกันได้

ที่อยู่ ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L3020-02-07 เลขที่ข้อตกลง 7

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหยุดก่อน Stroke ป้องกันได้ จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ม่วงเตี้ย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหยุดก่อน Stroke ป้องกันได้



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหยุดก่อน Stroke ป้องกันได้ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3020-02-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ม่วงเตี้ย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) เป็นสาเหตุสำคัญของการเสียชีวิตและความพิการในประชากรทั่วโลก โดยเฉพาะในประเทศไทย ซึ่งปัจจัยเสี่ยงหลักมาจากโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดสูง รวมถึงพฤติกรรมเสี่ยง เช่น การสูบบุหรี่ ดื่มสุรา ขาดการออกกำลังกาย และอาหารที่ไม่ดีต่อสุขภาพ โครงการนี้มุ่งเน้นให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองผ่านการให้ความรู้ การปรับพฤติกรรมและการตรวจสุขภาพ การเข้าถึงบริการทางการแพทย์และการรักษาอย่างทันท่วงทีเป็นสิ่งสำคัญในการลดความรุนแรงของโรคพื้นที่จังหวัดปัตตานีมีลักษณะเฉพาะทางสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งอาจส่งผลต่อการเข้าถึงบริการทางการแพทย์และการดูแลสุขภาพสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่อาจเป็นอุปสรรคต่อการให้บริการทางการแพทย์และการเข้าถึงการรักษาการสร้างความตระหนักและความเข้าใจเกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมองในชุมชนเป็นสิงสำคัญ โรคหลอดเลือดสมองเกิดจากความผิดปกติของหลอดเลือดที่นำเลือดไปเลี้ยงสมอง ทำให้เลือดไม่สามารถไปเลี้ยงสมองได้ตามปกติเมื่อสมองขาดเลือด เซลล์สมองจะเริ่มตายภายในไม่กี่นาที และหากไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที อาจทำให้เกิดความพิการหรือเสียชีวิตได้
  สาเหตุของโรคหลอดเลือดสมอง:
• หลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตัน (Ischemic stroke): เกิดจากลิ่มเลือดหรือไขมันอุดตันในหลอดเลือด ทำให้เลือดไม่สามารถไหลไปเลี้ยงสมองได้
• หลอดเลือดสมองแตก (Hemorrhagic stroke): เกิดจากหลอดเลือดในสมองแตก ทำให้เลือดไหลเข้าไปในเนื้อสมอง
จากรายงานสถิติสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุขในปี 2566 ประเทศไทยพบผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองมากถึง 349,126 ราย เสียชีวิต 36,214 ราย 1 ผู้เสียชีวิตส่วนใหญ่มีอายุน้อยกว่า 70 ปี
  โรคหลอดเลือดสมองเป็นสาเหตุสำคัญอันดับ 2 ของการเสียชีวิต และอันดับ 3 ของความพิการ
การป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง:
  ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อดูแลสุขภาพร่างกาย เช่น ตรวจวัดความดันโลหิตสม่ำเสมอ ควบคุมระดับไขมันและน้ำตาลในเลือด เลิกสูบบุหรี่ ลดอาหารรสเค็มและไขมันสูง รับประทานผักผลไม้ ออกกำลังกาย และควบคุมน้ำหนัก
เรียนรู้สัญญาณเตือนของโรคหลอดเลือดสมองและปฏิบัติตามหลักการ B.E.F.A.S.T. หรือ F.A.S.T. สัญญาณเตือนโรคหลอดเลือดสมอง (B.E.F.A.S.T.):
• B (Balance): เสียการทรงตัว มีปัญหาในการเดิน
• E (Eyes): มองเห็นผิดปกติ ตามัว หรือเห็นภาพซ้อน
• F (Face): ใบหน้าเบี้ยว ปากเบี้ยว มุมปากตก
• A (Arms): แขนขาอ่อนแรง ยกไม่ขึ้น
• S (Speech): พูดลำบาก พูดไม่ออก หรือพูดไม่ชัด
• T (Time): รีบไปโรงพยาบาลทันที หากมีอาการดังกล่าว จากการสำรวจข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข โดยคลังข้อมูลด้านการแพทย์และสุขภาพ (HDC) สถิติผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (STROKE) ที่ปัจจุบันสูบบุหรี่สามารถเลิกบุหรี่ได้สำเร็จ จำนวนยอดผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง (Stroke) ทั้งอำเภอแม่ลาน มีจำนวน 31 คน ปีงบประมาณ 2566 เป็นผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง จำนวน 3 ราย ปีงบประมาณ 2567 เป็นผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง จำนวน 3 ราย ปีงบประมาณ 2568 เป็นผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง จำนวน 1 ราย ตามลำดับและจำนวนยอดผู้ป่วยกลุ่มโรคหัวใจ (MI) ในแต่ล่ะปี ปี 2568 มีจำนวนประชากรทั้งหมด 14,992 คน และที่เป็นโรคหัวใจ 2 คน คือ แม่ลาน 1 รายและ ป่าไร่ 1 ราย, ปี 2567 มีจำนวนประชากรทั้งหมด 14,951 คน และที่เป็นโรคหัวใจ 18 คน แม่ลาน 6 ราย,ม่วงเตี้ย 5 ราย และ ป่าไร่ 7 ราย,ปี 2566 มีจำนวนประชากรทั้งหมด 14,772 คน และที่เป็นโรคหัวใจ 15 คน แม่ลาน 1 ราย,ม่วงเตี้ย 5 ราย และ ป่าไร่ 9 ราย ศูนย์สุขภาพชุมชนโรงพยาบาลแม่ลาน ได้จัดทำโครงการหยุดก่อน Stroke ป้องกันได้ อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2568 เพื่อให้ประชาชนสามารถประเมินอาการเบื้องต้นได้และจะช่วยการเข้าถึงบริการของหน่วยบริการทางการแพทย์ให้ครอบคลุมและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอง สาเหตุ และวิธีป้องกัน
  2. ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยง เช่น การรับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ การออกกำลังกาย และการเลิกบุหรี่
  3. สนับสนุนการตรวจสุขภาพเชิงป้องกัน เช่น การวัดความดันโลหิต ระดับน้ำตาล และไขมันในเลือด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน 10
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 40
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมองและสามารถป้องกันตนเองได้
    2. ลดปัจจัยเสี่ยงของโรค เช่น ความดันโลหิตสูง น้ำตาลและไขมันในเลือดสูง
    3. ประชาชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น เช่น ออกกำลังกายและเลือกอาหารที่ดีต่อสุขภาพ
    4. ลดอัตราการเกิดโรคหลอดเลือดสมองและความรุนแรงของโรค

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอง สาเหตุ และวิธีป้องกัน
    ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอง สาเหตุ และวิธีป้องกันได้

     

    2 ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยง เช่น การรับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ การออกกำลังกาย และการเลิกบุหรี่
    ตัวชี้วัด : สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยง เช่น การรับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ การออกกำลังกาย และการเลิกบุหรี่ได้

     

    3 สนับสนุนการตรวจสุขภาพเชิงป้องกัน เช่น การวัดความดันโลหิต ระดับน้ำตาล และไขมันในเลือด
    ตัวชี้วัด : ประชาชนสามารถประเมินอาการของโรคหลอดเลือดสมอง และแนวทางการปฐมพยาบาลเบื้องต้น

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน 10
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 40
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ให้ความรู้เกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอง สาเหตุ และวิธีป้องกัน (2) ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดความเสี่ยง เช่น การรับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ การออกกำลังกาย และการเลิกบุหรี่ (3) สนับสนุนการตรวจสุขภาพเชิงป้องกัน เช่น การวัดความดันโลหิต ระดับน้ำตาล และไขมันในเลือด

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการหยุดก่อน Stroke ป้องกันได้ จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 68-L3020-02-07

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวยามิล๊ะ แว้ง )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด