โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการสมวัยและการบริโภคอย่างฉลาดในโรงเรียน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการสมวัยและการบริโภคอย่างฉลาดในโรงเรียน ”
ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวบุซรอ หะยีแวอุเซ็ง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ม่วงเตี้ย
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการสมวัยและการบริโภคอย่างฉลาดในโรงเรียน
ที่อยู่ ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3020-02-10 เลขที่ข้อตกลง 10
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการสมวัยและการบริโภคอย่างฉลาดในโรงเรียน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ม่วงเตี้ย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการสมวัยและการบริโภคอย่างฉลาดในโรงเรียน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการสมวัยและการบริโภคอย่างฉลาดในโรงเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3020-02-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,940.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ม่วงเตี้ย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
อาหารมีความสำคัญในทุกเพศและทุกวัย โดยเฉพาะสำหรับเด็กในวัยเรียนซึ่งเป็นวัยที่ร่างกายกำลังเจริญเติบโตและเป็นช่วงที่สมองกำลังพัฒนา อาหารจึงมีความสำคัญอย่างมากสำหรับวัยนี้ดังนั้นควรรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ และปริมาณให้เพียงพอเพื่อให้ร่างกายได้รับสารอาหารอย่างเพียงพอและเหมาะสม จากสถานการณ์ภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียนของนักเรียนโรงเรียนบ้านปลักปรือ จากสถิติค่าเฉลี่ยของระบบปัจจัยพื้นฐานนักเรียนยากจนพบว่าในปีการศึกษา 2566 นักเรียนมีภาวะโภชนาการดังต่อไปนี้ นักเรียนที่เตี้ย 25.37 % ผอม 32.83 % อ้วน 5.9 % และในปีการศึกษา 2567 นักเรียนมีภาวะโภชนาการดังต่อไปนี้ นักเรียนที่เตี้ย 27.37 % ผอม 35.63 % อ้วน 6.23 % จากข้อมูลข้างต้นปัจจัยที่มีผลต่อปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กนักเรียนนั้น พบว่ามี 2 ปัจจัย ได้แก่ ส่วนบุคคลพฤติกรรม และอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมที่บ้านและโรงเรียนที่มีส่วนทำให้เด็กนักเรียนมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ซึ่งเกิดจากนักเรียนยังไม่เห็นถึงความสำคัญของการเสริมสร้างสุขภาพอนามัยของตนเอง ทำให้นักเรียนส่วนหนึ่งยังมีปัญหาทางด้านภาวะทุพโภชนาการคือ เตี้ย โรคอ้วน หรือผอมเกินไป และการเลือกซื้ออาหารที่ไม่มีประโยชน์ และขาดการออกกำลังกาย รวมไปถึงสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ นักเรียนที่เอื้อต่อการทำให้นักเรียนมีปัญหาทางด้านภาวะทุพโภชนาการดังกล่าว คือ เตี้ยกว่ามาตรฐาน มีโรคอ้วนน้ำหนักเกินมาตรฐาน และน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน ที่เกิดจาการขาดสารอาหาร การรับประทานอาหารไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย ถึงจะมีจำนวนการเกิดปัญหาโรคอ้วนหรือผอมเกินไป แต่ถ้าหากไม่มีการส่งเสริมเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงก็จะส่งผลต่อการเจริญเติบโต และพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กในวัยเรียนไม่ได้เต็มศักยภาพ จากสภาพปัญหาดังกล่าวข้างต้น โรงเรียนบ้านปลักปรือ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการสมวัยและการบริโภคอย่างฉลาดในโรงเรียน ประจำปีงบประมาณ 2568 ขึ้น เพื่อแก้ปัญหาและเสริมสร้างปลูกฝังสุขนิสัยที่ดีในการเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสมกับความต้องการของร่างกาย และให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการ เพื่อให้นักเรียนสามารถพัฒนาสุขภาพของตนเองได้อย่างยั่งยืน และที่สำคัญผู้ปกครองนักเรียนมีส่วนสำคัญในการส่งเสริมภาวะโภชนาการให้กับนักเรียนจึงจำเป็นต้องมีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการที่เหมาะสมกับเด็กในวัยเรียนดังกล่าว
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็กวัยเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพ ๓ อ. ที่เหมาะสม
- เพื่อให้เด็กวัยเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วน ผอม และเตี้ย (ภาวะโภชนาการ) ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพ
- เพื่อให้เด็กและผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการดำเนินงานแก้ไขปัญหาเด็กนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการ
- เพื่อให้เด็กในวัยเรียนที่มีภาวะโภชนาการมีภาวะโภชนาการสมวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. กิจกรรมเสริมความรู้สู่นักเรียนและส่งเสริมภาวะโภชนาการให้ผู้ปกครอง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เด็กวัยเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพ 3 อ. ที่เหมาะสม อ.1ทานอาหารแต่พอดี อ.2 ออกกำลังกาย อ.3 อารมณ์ จิตใจ แจ่มใส่
2.เด็กวัยเรียนได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
3.โรงเรียนและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการดำเนินงานแก้ไขปัญหานักเรียนที่มีภาวะทางทุพโภชนาการ
4.เด็กในวัยเรียนมีภาวะโภชนาการที่เหมาะสมกับวัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้เด็กวัยเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพ ๓ อ. ที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ
100.00
2
เพื่อให้เด็กวัยเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วน ผอม และเตี้ย (ภาวะโภชนาการ) ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพ
ตัวชี้วัด : นักเรียน คณะครู และบุคลการมีความตระหนักและได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพ
100.00
3
เพื่อให้เด็กและผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการดำเนินงานแก้ไขปัญหาเด็กนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการ
ตัวชี้วัด : นักเรียนและผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการดำเนินงานเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียน
100.00
4
เพื่อให้เด็กในวัยเรียนที่มีภาวะโภชนาการมีภาวะโภชนาการสมวัย
ตัวชี้วัด : นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย
100.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
100
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
100
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กวัยเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพ ๓ อ. ที่เหมาะสม (2) เพื่อให้เด็กวัยเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วน ผอม และเตี้ย (ภาวะโภชนาการ) ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพ (3) เพื่อให้เด็กและผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการดำเนินงานแก้ไขปัญหาเด็กนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการ (4) เพื่อให้เด็กในวัยเรียนที่มีภาวะโภชนาการมีภาวะโภชนาการสมวัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมเสริมความรู้สู่นักเรียนและส่งเสริมภาวะโภชนาการให้ผู้ปกครอง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการสมวัยและการบริโภคอย่างฉลาดในโรงเรียน จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3020-02-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวบุซรอ หะยีแวอุเซ็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการสมวัยและการบริโภคอย่างฉลาดในโรงเรียน ”
ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวบุซรอ หะยีแวอุเซ็ง
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3020-02-10 เลขที่ข้อตกลง 10
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการสมวัยและการบริโภคอย่างฉลาดในโรงเรียน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ม่วงเตี้ย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการสมวัยและการบริโภคอย่างฉลาดในโรงเรียน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการสมวัยและการบริโภคอย่างฉลาดในโรงเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3020-02-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,940.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ม่วงเตี้ย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
อาหารมีความสำคัญในทุกเพศและทุกวัย โดยเฉพาะสำหรับเด็กในวัยเรียนซึ่งเป็นวัยที่ร่างกายกำลังเจริญเติบโตและเป็นช่วงที่สมองกำลังพัฒนา อาหารจึงมีความสำคัญอย่างมากสำหรับวัยนี้ดังนั้นควรรับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ และปริมาณให้เพียงพอเพื่อให้ร่างกายได้รับสารอาหารอย่างเพียงพอและเหมาะสม จากสถานการณ์ภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียนของนักเรียนโรงเรียนบ้านปลักปรือ จากสถิติค่าเฉลี่ยของระบบปัจจัยพื้นฐานนักเรียนยากจนพบว่าในปีการศึกษา 2566 นักเรียนมีภาวะโภชนาการดังต่อไปนี้ นักเรียนที่เตี้ย 25.37 % ผอม 32.83 % อ้วน 5.9 % และในปีการศึกษา 2567 นักเรียนมีภาวะโภชนาการดังต่อไปนี้ นักเรียนที่เตี้ย 27.37 % ผอม 35.63 % อ้วน 6.23 % จากข้อมูลข้างต้นปัจจัยที่มีผลต่อปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กนักเรียนนั้น พบว่ามี 2 ปัจจัย ได้แก่ ส่วนบุคคลพฤติกรรม และอิทธิพลของสิ่งแวดล้อมที่บ้านและโรงเรียนที่มีส่วนทำให้เด็กนักเรียนมีพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม ซึ่งเกิดจากนักเรียนยังไม่เห็นถึงความสำคัญของการเสริมสร้างสุขภาพอนามัยของตนเอง ทำให้นักเรียนส่วนหนึ่งยังมีปัญหาทางด้านภาวะทุพโภชนาการคือ เตี้ย โรคอ้วน หรือผอมเกินไป และการเลือกซื้ออาหารที่ไม่มีประโยชน์ และขาดการออกกำลังกาย รวมไปถึงสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ นักเรียนที่เอื้อต่อการทำให้นักเรียนมีปัญหาทางด้านภาวะทุพโภชนาการดังกล่าว คือ เตี้ยกว่ามาตรฐาน มีโรคอ้วนน้ำหนักเกินมาตรฐาน และน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน ที่เกิดจาการขาดสารอาหาร การรับประทานอาหารไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย ถึงจะมีจำนวนการเกิดปัญหาโรคอ้วนหรือผอมเกินไป แต่ถ้าหากไม่มีการส่งเสริมเพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงก็จะส่งผลต่อการเจริญเติบโต และพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กในวัยเรียนไม่ได้เต็มศักยภาพ จากสภาพปัญหาดังกล่าวข้างต้น โรงเรียนบ้านปลักปรือ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการสมวัยและการบริโภคอย่างฉลาดในโรงเรียน ประจำปีงบประมาณ 2568 ขึ้น เพื่อแก้ปัญหาและเสริมสร้างปลูกฝังสุขนิสัยที่ดีในการเลือกรับประทานอาหารให้เหมาะสมกับความต้องการของร่างกาย และให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการ เพื่อให้นักเรียนสามารถพัฒนาสุขภาพของตนเองได้อย่างยั่งยืน และที่สำคัญผู้ปกครองนักเรียนมีส่วนสำคัญในการส่งเสริมภาวะโภชนาการให้กับนักเรียนจึงจำเป็นต้องมีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการที่เหมาะสมกับเด็กในวัยเรียนดังกล่าว
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็กวัยเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพ ๓ อ. ที่เหมาะสม
- เพื่อให้เด็กวัยเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วน ผอม และเตี้ย (ภาวะโภชนาการ) ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพ
- เพื่อให้เด็กและผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการดำเนินงานแก้ไขปัญหาเด็กนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการ
- เพื่อให้เด็กในวัยเรียนที่มีภาวะโภชนาการมีภาวะโภชนาการสมวัย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. กิจกรรมเสริมความรู้สู่นักเรียนและส่งเสริมภาวะโภชนาการให้ผู้ปกครอง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 100 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เด็กวัยเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพ 3 อ. ที่เหมาะสม อ.1ทานอาหารแต่พอดี อ.2 ออกกำลังกาย อ.3 อารมณ์ จิตใจ แจ่มใส่
2.เด็กวัยเรียนได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
3.โรงเรียนและภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการดำเนินงานแก้ไขปัญหานักเรียนที่มีภาวะทางทุพโภชนาการ
4.เด็กในวัยเรียนมีภาวะโภชนาการที่เหมาะสมกับวัย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เด็กวัยเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพ ๓ อ. ที่เหมาะสม ตัวชี้วัด : นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับภาวะโภชนาการ |
100.00 |
|
||
2 | เพื่อให้เด็กวัยเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วน ผอม และเตี้ย (ภาวะโภชนาการ) ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพ ตัวชี้วัด : นักเรียน คณะครู และบุคลการมีความตระหนักและได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพ |
100.00 |
|
||
3 | เพื่อให้เด็กและผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการดำเนินงานแก้ไขปัญหาเด็กนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการ ตัวชี้วัด : นักเรียนและผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการดำเนินงานเกี่ยวกับภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียน |
100.00 |
|
||
4 | เพื่อให้เด็กในวัยเรียนที่มีภาวะโภชนาการมีภาวะโภชนาการสมวัย ตัวชี้วัด : นักเรียนมีภาวะโภชนาการสมวัย |
100.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 100 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 100 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กวัยเรียนมีพฤติกรรมสุขภาพ ๓ อ. ที่เหมาะสม (2) เพื่อให้เด็กวัยเรียนที่มีภาวะเริ่มอ้วน ผอม และเตี้ย (ภาวะโภชนาการ) ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมด้านสุขภาพ (3) เพื่อให้เด็กและผู้ปกครองมีส่วนร่วมในการขับเคลื่อนการดำเนินงานแก้ไขปัญหาเด็กนักเรียนที่มีภาวะโภชนาการ (4) เพื่อให้เด็กในวัยเรียนที่มีภาวะโภชนาการมีภาวะโภชนาการสมวัย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. กิจกรรมเสริมความรู้สู่นักเรียนและส่งเสริมภาวะโภชนาการให้ผู้ปกครอง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมภาวะโภชนาการสมวัยและการบริโภคอย่างฉลาดในโรงเรียน จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3020-02-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวบุซรอ หะยีแวอุเซ็ง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......