โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย ปีงบประมาณ 2568
ชื่อโครงการ | โครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย ปีงบประมาณ 2568 |
รหัสโครงการ | |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 1 สนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขของ หน่วยบริการ/สถานบริการ/หน่วยงานสาธารณสุข |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยบริการหรือสถานบริการสาธารณสุข เช่น รพ.สต. |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะเครียะ |
วันที่อนุมัติ | 1 ตุลาคม 2567 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 30 กันยายน 2568 |
งบประมาณ | 19,900.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นางปฐมาพร พิทักษ์ |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | โรงพยาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะเครีะย ตำบลตะเครียะ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 50 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง : |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ปัญหาสุขภาพที่สำคัญในกลุ่มผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมคืออันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชเนื่องจากเกษตรกรส่วนใหญ่ใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพีขอย่างแพร่หลายเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรและเกษตรกร ส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการใช้สารเคมีฯที่ไม่ถูกต้องปลอดภัยทำให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพทั้งเฉียบพลันและเรือรังอาการแสดงเฉียบพลันมีตั้งแต่ระดับเล็กน้อยจนรุนแรงถึงแก่ชีวิขึ้นอยู่กับระดับความเข้มข้นความเป็นพิษและปริมาณที่ได้รับ ส่วนอาการเรือรังสารเคมีกำจัดศัตรพืชจะสะสมในระบบต่างๆของร่างกายทำให้เกิดความผิดปกติและโรคต่างๆสารเคมีกำจัดศัตรูพืชสามารถทำอันตรายต่อสุขภาพร่างกายได้ทั้งมนุษย์ และสัตว์ กล่าวคือ จะไปทำลายอวัยวะกาย เช่น ตับ ไต ปอด สมองผิวหนัง ระบบประสาท ระบบสืบพันธุ์ และตา ซึ่งก็ขึ้นอยู่กัสารเคมีเข้าสู่ร่างกายทางใด และปริมาณมากน้อยเท่าใด ส่วนใหญ่แล้วการที่อวัยวะภายในร่างกายได้สะสมสารเคมีไว้ขีดที่ร่างกายไม่อาจทนได้ จึงแสดงอาการต่างๆขึ้นมาเช่น โรคมะเร็ง โรคต่อมไร้ท่อ โรคเลือดภูมิคุ้มกัน เป็นต้น ตำบลตะเครียะ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรม โดยมีพื้นที่ที่ใช้ในการเกษตรมากถึงร้อยละ ๘๐ ของพื้นที่ทั้งหมด ซึ่งประกอบด้วยพื้นที่ทำนาปลูกพืชผักผลกระทบจากการใช้สารเคมีในการควบคุมและกำจัดศัตศัตศัตรพืช จึงกระจายและขยายเป็นวงกว้าง และยังอยู่ในระดับที่ค่อนข้างสูงอยู่ จากข้อมูลดังกล่าวแสดงว่า เกษตรกร ยังคงมีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอยู่เป็นจำนจำนวนมาก ซึ่งในการนำมาใช้นั้นได้มีการใช้อย่างไม่ถูกวิธีและขาดความรู้ จึงทำให้มีผลกระทบกับกับด้านสุขภาพโดยตรง และจากการายงามอัตราป่วยจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ของอำเภอระโนด ปี 2567 พบว่า อัตราป่วยตำบลตะเครียะ เท่ากับ 312.50ต่อแสนประชากร สูงเป็นอันดับ 2 ของอำเภอระโนดโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะเครียะ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จึงเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพเกษตรกรและผู้บริโภค จึงได้จัดทำโครงการเกษตรกรปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดดภัยขึ้น เพื่อให้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงและผู้บริโภค ได้รับการตรวจสุขภาพและเจาะเลือด เพื่อดูว่ามีปริมาณสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดอยู่ในระดับใดเพื่อทำการเฝ้าระวังต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด ประชาชนกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจสารเคมี ตกค้างในเลือดร้อยละ 80 |
0.00 | |
2 | เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการใช้สารเคมีอย่างปลอดภัย ประชาชนกลุ่มเสี่ยงมีความรุ้ในการใช้สารเคมีอย่างปลอดภัย ร้อยะล 80 |
0.00 | |
3 | เพื่อให้ประชากลุ่มเสี่ยงที่มีผลเลือดระดับมีความเสี่ยงหรือไม่ปลอดภัย ได้รับการจ่ายยาสมุนไพรรางจืด ประชาชนกลุ่มเป้าหมายที่มีผลเลือด ระดับมีความเสี่ยงรือไม่ปลอดภัย ได้รับการการจ่ายยาสมุนไพรรางจืด ร้อยละ 100 |
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 19,900.00 | 0 | 0.00 | |
1 ต.ค. 67 - 30 ก.ย. 68 | 1. จัดอบรมให้ความรู้เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงที่ใช้สารเคมีและผู้บริโภค 2. ทดสอบความรู้ก่อนและหลังอบรม จำนวน 50 คน 3. เจาะเลือดตรวจสารเคมีตกค้างในเลือด | 0 | 19,900.00 | - |
- เกษตรมีพฤติกรรมการป้องกันการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องและปลอดภัย
- ชุมชนมีการลดใช้สารเคมีในการเพาะปลูก
- เกษตรกรกลุ่มเสี่ยงและผู้บริโภค ได้รับการตจรวจสุขภาพ
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 14 มี.ค. 2568 10:32 น.