โครงการปรับเปลี่ยนกลุ่มเสี่ยง “รู้ตน ปรับเสี่ยง เลี่ยงโรค สู้ภัยเบาหวานและความดันโลหิตสูง”
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนกลุ่มเสี่ยง “รู้ตน ปรับเสี่ยง เลี่ยงโรค สู้ภัยเบาหวานและความดันโลหิตสูง” ”
ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายมูฮาหมัดโยฮัน วารัม
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนกลุ่มเสี่ยง “รู้ตน ปรับเสี่ยง เลี่ยงโรค สู้ภัยเบาหวานและความดันโลหิตสูง”
ที่อยู่ ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3057-1-3 เลขที่ข้อตกลง 3/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนกลุ่มเสี่ยง “รู้ตน ปรับเสี่ยง เลี่ยงโรค สู้ภัยเบาหวานและความดันโลหิตสูง” จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนกลุ่มเสี่ยง “รู้ตน ปรับเสี่ยง เลี่ยงโรค สู้ภัยเบาหวานและความดันโลหิตสูง”
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนกลุ่มเสี่ยง “รู้ตน ปรับเสี่ยง เลี่ยงโรค สู้ภัยเบาหวานและความดันโลหิตสูง” " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3057-1-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,320.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
ปัจจุบันปัญหาเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อ (Non- Infection Disease) กำลังเป็นปัญหาที่สำคัญต่อสังคมไทย และมีแนวโน้มว่าจะทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้น สาเหตุที่สำคัญได้แก่พฤติกรรมการบริโภค พฤติกรรมการออกกำลังกาย หรือแม้แต่ปัจจัยทางด้านสังคม ส่งผลทั้งโดยทางตรงและทางอ้อมให้ประชาชนป่วยเป็นโรคไม่ติดต่อ (Non- Infection Disease) หรือโรคเสื่อมเรื้อรัง (Chronic Degenerative Disease) เช่น ภาวะความดันโลหิตสูง (Hypertension) โรคเบาหวาน (Diabetes Mellitus) รวมทั้งโรคไขมันในเลือดกันมากขึ้น การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพมีความสำคัญและจำเป็นในการแก้ไขปัญหาโรค NCD ดังกล่าว
จากการคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ในปี 2567 เป้าหมายประชากร 15 ปีขึ้นไปจำนวน 1,876 คน คัดกรองได้ 1,779 คน คิดเป็นร้อยละ 94.83 พบกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวาน จำนวน 54 คน คิดเป็นร้อยละ 2.99 กลุ่มสงสัยเป็นโรคเบาหวาน จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 0.33 ผู้ป่วยรายใหม่ 6 คน คิดเป็นร้อยละ 0.33 และพบกลุ่มเสี่ยงสูงต่อความดันโลหิตสูง จำนวน 478 คน คิดเป็นร้อยละ 28.87 กลุ่มสงสัยเป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 42 คน คิดเป็นร้อยละ 2.36 ผู้ป่วยรายใหม่สามคน คิดเป็นร้อยละ 0.17
ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบานเลาะ ร่วมกับเครือข่ายพัฒนาสุขภาพ รพ.สต.บ้านบาเลาะ ได้ตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในกลุ่มดังกล่าว และได้ให้ความสำคัญในการส่งเสริมป้องกันและควบคุมโรคโดยมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย เพื่อสอดคล้องกับปัญหาในพื้นที่ที่ดีขึ้น จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ “รู้ตน ลดเสี่ยง เลี่ยงโรค” ตามหลัก 3อ2ส เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้ทักษะในการจัดการตนเอง และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดการเกิดโรคเรื้อรังได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ตระหนักถึงภัยสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ2ส ได้อย่างถูกต้อง
- 2 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง
- 3 เพื่อเสริมสร้างบุคคลต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามวิถีในชุมชน
- 4 ชุมชนมีส่วนร่วม สู่แบบอย่างชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.1 อบรมเครือข่ายพัฒนาสุขภาพ รพ.สต.บ้านบาเลาะ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำไปปรับใช้ในการดูแลตนเองในชีวิตประจำวันตามหลัก 3อ2ส ได้อย่างถูกต้อง
- เกิดบุคคลต้นแบบในการส่งเสริมสุขภาพให้กับชุมชนได้
- ประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้
- ประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง สามารถควบคุมระดับความดันให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้
- อัตราป่วยด้วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ จากกลุ่มเสี่ยงลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ตระหนักถึงภัยสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ2ส ได้อย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด : - เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ตระหนักถึงภัยสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ2ส ได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 90 %
2
2 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง
ตัวชี้วัด : - ลดอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 5 %
3
3 เพื่อเสริมสร้างบุคคลต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามวิถีในชุมชน
ตัวชี้วัด : - เสริมสร้างบุคคลต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามวิถีในชุมชน
4
4 ชุมชนมีส่วนร่วม สู่แบบอย่างชุมชน
ตัวชี้วัด : มีแบบอย่างชุมชนมีส่วนร่วม 1 แห่ง
120.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
120
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
120
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ตระหนักถึงภัยสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ2ส ได้อย่างถูกต้อง (2) 2 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง (3) 3 เพื่อเสริมสร้างบุคคลต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามวิถีในชุมชน (4) 4 ชุมชนมีส่วนร่วม สู่แบบอย่างชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.1 อบรมเครือข่ายพัฒนาสุขภาพ รพ.สต.บ้านบาเลาะ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการปรับเปลี่ยนกลุ่มเสี่ยง “รู้ตน ปรับเสี่ยง เลี่ยงโรค สู้ภัยเบาหวานและความดันโลหิตสูง” จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3057-1-3
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายมูฮาหมัดโยฮัน วารัม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการปรับเปลี่ยนกลุ่มเสี่ยง “รู้ตน ปรับเสี่ยง เลี่ยงโรค สู้ภัยเบาหวานและความดันโลหิตสูง” ”
ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นายมูฮาหมัดโยฮัน วารัม
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3057-1-3 เลขที่ข้อตกลง 3/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการปรับเปลี่ยนกลุ่มเสี่ยง “รู้ตน ปรับเสี่ยง เลี่ยงโรค สู้ภัยเบาหวานและความดันโลหิตสูง” จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนกลุ่มเสี่ยง “รู้ตน ปรับเสี่ยง เลี่ยงโรค สู้ภัยเบาหวานและความดันโลหิตสูง”
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนกลุ่มเสี่ยง “รู้ตน ปรับเสี่ยง เลี่ยงโรค สู้ภัยเบาหวานและความดันโลหิตสูง” " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลปะเสยะวอ อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3057-1-3 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,320.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะเสยะวอ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ) ปัจจุบันปัญหาเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อ (Non- Infection Disease) กำลังเป็นปัญหาที่สำคัญต่อสังคมไทย และมีแนวโน้มว่าจะทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้น สาเหตุที่สำคัญได้แก่พฤติกรรมการบริโภค พฤติกรรมการออกกำลังกาย หรือแม้แต่ปัจจัยทางด้านสังคม ส่งผลทั้งโดยทางตรงและทางอ้อมให้ประชาชนป่วยเป็นโรคไม่ติดต่อ (Non- Infection Disease) หรือโรคเสื่อมเรื้อรัง (Chronic Degenerative Disease) เช่น ภาวะความดันโลหิตสูง (Hypertension) โรคเบาหวาน (Diabetes Mellitus) รวมทั้งโรคไขมันในเลือดกันมากขึ้น การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพมีความสำคัญและจำเป็นในการแก้ไขปัญหาโรค NCD ดังกล่าว จากการคัดกรองความเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ในปี 2567 เป้าหมายประชากร 15 ปีขึ้นไปจำนวน 1,876 คน คัดกรองได้ 1,779 คน คิดเป็นร้อยละ 94.83 พบกลุ่มเสี่ยงสูงต่อโรคเบาหวาน จำนวน 54 คน คิดเป็นร้อยละ 2.99 กลุ่มสงสัยเป็นโรคเบาหวาน จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 0.33 ผู้ป่วยรายใหม่ 6 คน คิดเป็นร้อยละ 0.33 และพบกลุ่มเสี่ยงสูงต่อความดันโลหิตสูง จำนวน 478 คน คิดเป็นร้อยละ 28.87 กลุ่มสงสัยเป็นโรคความดันโลหิตสูง จำนวน 42 คน คิดเป็นร้อยละ 2.36 ผู้ป่วยรายใหม่สามคน คิดเป็นร้อยละ 0.17 ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านบานเลาะ ร่วมกับเครือข่ายพัฒนาสุขภาพ รพ.สต.บ้านบาเลาะ ได้ตระหนักถึงภาวะสุขภาพของประชาชนในกลุ่มดังกล่าว และได้ให้ความสำคัญในการส่งเสริมป้องกันและควบคุมโรคโดยมุ่งเน้นการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่าย เพื่อสอดคล้องกับปัญหาในพื้นที่ที่ดีขึ้น จึงได้จัดทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ “รู้ตน ลดเสี่ยง เลี่ยงโรค” ตามหลัก 3อ2ส เพื่อให้ประชาชนได้รับความรู้ทักษะในการจัดการตนเอง และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพลดการเกิดโรคเรื้อรังได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ตระหนักถึงภัยสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ2ส ได้อย่างถูกต้อง
- 2 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง
- 3 เพื่อเสริมสร้างบุคคลต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามวิถีในชุมชน
- 4 ชุมชนมีส่วนร่วม สู่แบบอย่างชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1.1 อบรมเครือข่ายพัฒนาสุขภาพ รพ.สต.บ้านบาเลาะ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 120 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง มีความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำไปปรับใช้ในการดูแลตนเองในชีวิตประจำวันตามหลัก 3อ2ส ได้อย่างถูกต้อง - เกิดบุคคลต้นแบบในการส่งเสริมสุขภาพให้กับชุมชนได้ - ประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้ - ประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูง สามารถควบคุมระดับความดันให้อยู่ในเกณฑ์ปกติได้ - อัตราป่วยด้วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ จากกลุ่มเสี่ยงลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ตระหนักถึงภัยสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ2ส ได้อย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : - เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ตระหนักถึงภัยสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ2ส ได้อย่างถูกต้อง ร้อยละ 90 % |
|
|||
2 | 2 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง ตัวชี้วัด : - ลดอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 5 % |
|
|||
3 | 3 เพื่อเสริมสร้างบุคคลต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามวิถีในชุมชน ตัวชี้วัด : - เสริมสร้างบุคคลต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามวิถีในชุมชน |
|
|||
4 | 4 ชุมชนมีส่วนร่วม สู่แบบอย่างชุมชน ตัวชี้วัด : มีแบบอย่างชุมชนมีส่วนร่วม 1 แห่ง |
120.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 120 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 120 | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง ตระหนักถึงภัยสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมตามหลัก 3อ2ส ได้อย่างถูกต้อง (2) 2 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่จากกลุ่มเสี่ยง (3) 3 เพื่อเสริมสร้างบุคคลต้นแบบการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพตามวิถีในชุมชน (4) 4 ชุมชนมีส่วนร่วม สู่แบบอย่างชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1.1 อบรมเครือข่ายพัฒนาสุขภาพ รพ.สต.บ้านบาเลาะ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการปรับเปลี่ยนกลุ่มเสี่ยง “รู้ตน ปรับเสี่ยง เลี่ยงโรค สู้ภัยเบาหวานและความดันโลหิตสูง” จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3057-1-3
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายมูฮาหมัดโยฮัน วารัม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......