โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมสุขภาพนักเรียน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมสุขภาพนักเรียน ”
ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวมลฤดี ศิริยะพันธ์ุ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ม่วงเตี้ย
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมสุขภาพนักเรียน
ที่อยู่ ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3020-02-03 เลขที่ข้อตกลง 3
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมสุขภาพนักเรียน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ม่วงเตี้ย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมสุขภาพนักเรียน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมสุขภาพนักเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3020-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ม่วงเตี้ย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การมีสุขภาพดี ไม่เจ็บป่วย เป็นความต้องการของมนุษย์ทุกคนซึ่งการกินอาหารถูกต้องเหมาะสมและพอเพียงจะทำให้มีโภชนาการดี และนำไป สู่การมีสุขภาพดี ในทางตรงกันข้ามหากกินอาหารที่ไม่มีประโยชน์ไม่เพียงพอจะทำให้ขาดสารอาหาร หรือถ้ากินอาหารมากเกินไป ก็จะทำให้เป็นโรคอ้วน หรือโภชนาการเกิน“โภชนาการ” จึงเป็นเรื่องของการกิน “อาหาร” ที่ร่างกายเรานำ “สารอาหาร” จากอาหารไปใช้ประโยชน์และดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างเป็นสุข อาหารและโภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของประชากรในวัยต่างๆ ในวงจรชีวิตมนุษย์ทุกเพศทุกวัยทั้ง เด็ก วัยรุ่น ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ โดยเฉพาะในเด็กวัยก่อนเรียนเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นวัยรากฐานของพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกายจิตใจอารมณ์สังคมและสติปัญญาจึงเป็นวัยที่มีความสำคัญเหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐาน เพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต จากการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2567 เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านบ้านม่วงเตี้ย จำนวน 310 คน พบว่ามีเด็กค่อนข้างผอมและผอมจำนวน 80 คน เด็กค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยจำนวน 35 คน เด็กเริ่มอ้วนและอ้วนจำนวน 8คน เด็กผอมและเตี้ยจำนวน 35 คน ถือได้ว่าเป็นภาวะที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ เกินเกณฑ์ หรือกลุ่มเสี่ยง นับว่าเป็นปัญหาภาวะทุพโภชนาการจำนวนทั้งหมด 102 คน คิดเป็นร้อยละ 32.90 จากการสอบถามเด็กดังกล่าวพบว่า เด็กมาโรงเรียนโดยไม่ได้รับประทานอาหารเช้าเด็กรับประทานอาหารไม่ครบ 5 หมู่ ซึ่งจากปัญหาเหล่านี้จะส่งผลต่อพัฒนาการทางด้านร่างกายพัฒนาการทางด้านสติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคมของเด็กตามมา จำเป็นต้องมีการส่งเสริมและพัฒนาเด็กให้มีพัฒนาการที่สมวัยในทุกด้านของชีวิต การแก้ไขปัญหาโดยการส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาการเด็กในสถานศึกษา และการดำเนินงานแก้ไขปัญหาและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ครูและบุคลากรเพียงฝ่ายเดียวไม่สามารถแก้ปัญหาให้ลดน้อยหรือหมดไปได้ สิ่งสำคัญจะต้องมีการให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง ผู้เลี้ยงดูเด็ก และส่งเสริมให้ครอบครัวและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กด้วย
จากสภาพปัญหาดังกล่าว โรงเรียนบ้านม่วงเตี้ยจึงได้จัดทำ“โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมสุขภาพนักเรียน” เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะทุพโภชนาการเด็กและติดตามเด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์, เกินเกณฑ์และกลุ่มเสี่ยงส่งเสริมให้เด็กได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายส่งเสริมการออกกำลังกายและพัฒนาการ ทางด้านสติปัญญาด้วย โดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวในการแก้ไขปัญหาให้กับนักเรียนอย่างต่อเนื่อง จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเฝ้าระวังและติดตามโภชนาการเด็กที่เสี่ยงต่อการมีภาวะปัญหาภาวะโภชนาการ
- เพื่อให้ผู้ปกครอง มีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็ก และส่งเสริมให้เด็กรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ครบถ้วนตามหลักโภชนาการ
- เพื่อให้นักเรียนที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ เกินเกณฑ์ และกลุ่มเสี่ยง ได้รับการติดตาม ดูแลอย่างใกล้ชิด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน การเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ ครบถ้วนตามหลักโภชนาการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้โภชนาการเด็กวัยเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
65
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เพื่อให้ผู้ปกครองนักเรียน มีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็ก และส่งเสริมให้นักเรียนรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ครบถ้วนตามหลักโภชนาการ
- นักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการรับประทานอาหาร
- นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการทุกคนได้รับประทานอาหารเช้าที่มีสารอาหารครบถ้วนตามความต้องการของร่างกาย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อเฝ้าระวังและติดตามโภชนาการเด็กที่เสี่ยงต่อการมีภาวะปัญหาภาวะโภชนาการ
ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการอย่างครอบคลุม
2
เพื่อให้ผู้ปกครอง มีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็ก และส่งเสริมให้เด็กรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ครบถ้วนตามหลักโภชนาการ
ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองมีความรู้และเข้าใจเรื่องภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน
3
เพื่อให้นักเรียนที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ เกินเกณฑ์ และกลุ่มเสี่ยง ได้รับการติดตาม ดูแลอย่างใกล้ชิด
ตัวชี้วัด : นักเรียนที่มีปัญหาโภชนาการมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมตามวัย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
65
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
65
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังและติดตามโภชนาการเด็กที่เสี่ยงต่อการมีภาวะปัญหาภาวะโภชนาการ (2) เพื่อให้ผู้ปกครอง มีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็ก และส่งเสริมให้เด็กรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ครบถ้วนตามหลักโภชนาการ (3) เพื่อให้นักเรียนที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ เกินเกณฑ์ และกลุ่มเสี่ยง ได้รับการติดตาม ดูแลอย่างใกล้ชิด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน การเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ ครบถ้วนตามหลักโภชนาการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้โภชนาการเด็กวัยเรียน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมสุขภาพนักเรียน จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3020-02-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาวมลฤดี ศิริยะพันธ์ุ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมสุขภาพนักเรียน ”
ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
หัวหน้าโครงการ
นางสาวมลฤดี ศิริยะพันธ์ุ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3020-02-03 เลขที่ข้อตกลง 3
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมสุขภาพนักเรียน จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ม่วงเตี้ย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมสุขภาพนักเรียน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมสุขภาพนักเรียน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลม่วงเตี้ย อำเภอแม่ลาน จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3020-02-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,500.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ม่วงเตี้ย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การมีสุขภาพดี ไม่เจ็บป่วย เป็นความต้องการของมนุษย์ทุกคนซึ่งการกินอาหารถูกต้องเหมาะสมและพอเพียงจะทำให้มีโภชนาการดี และนำไป สู่การมีสุขภาพดี ในทางตรงกันข้ามหากกินอาหารที่ไม่มีประโยชน์ไม่เพียงพอจะทำให้ขาดสารอาหาร หรือถ้ากินอาหารมากเกินไป ก็จะทำให้เป็นโรคอ้วน หรือโภชนาการเกิน“โภชนาการ” จึงเป็นเรื่องของการกิน “อาหาร” ที่ร่างกายเรานำ “สารอาหาร” จากอาหารไปใช้ประโยชน์และดำรงชีวิตอยู่ได้อย่างเป็นสุข อาหารและโภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของประชากรในวัยต่างๆ ในวงจรชีวิตมนุษย์ทุกเพศทุกวัยทั้ง เด็ก วัยรุ่น ผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุ โดยเฉพาะในเด็กวัยก่อนเรียนเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นวัยรากฐานของพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกายจิตใจอารมณ์สังคมและสติปัญญาจึงเป็นวัยที่มีความสำคัญเหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐาน เพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต จากการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2567 เด็กนักเรียนโรงเรียนบ้านบ้านม่วงเตี้ย จำนวน 310 คน พบว่ามีเด็กค่อนข้างผอมและผอมจำนวน 80 คน เด็กค่อนข้างเตี้ยและเตี้ยจำนวน 35 คน เด็กเริ่มอ้วนและอ้วนจำนวน 8คน เด็กผอมและเตี้ยจำนวน 35 คน ถือได้ว่าเป็นภาวะที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ เกินเกณฑ์ หรือกลุ่มเสี่ยง นับว่าเป็นปัญหาภาวะทุพโภชนาการจำนวนทั้งหมด 102 คน คิดเป็นร้อยละ 32.90 จากการสอบถามเด็กดังกล่าวพบว่า เด็กมาโรงเรียนโดยไม่ได้รับประทานอาหารเช้าเด็กรับประทานอาหารไม่ครบ 5 หมู่ ซึ่งจากปัญหาเหล่านี้จะส่งผลต่อพัฒนาการทางด้านร่างกายพัฒนาการทางด้านสติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคมของเด็กตามมา จำเป็นต้องมีการส่งเสริมและพัฒนาเด็กให้มีพัฒนาการที่สมวัยในทุกด้านของชีวิต การแก้ไขปัญหาโดยการส่งเสริมโภชนาการและพัฒนาการเด็กในสถานศึกษา และการดำเนินงานแก้ไขปัญหาและส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ครูและบุคลากรเพียงฝ่ายเดียวไม่สามารถแก้ปัญหาให้ลดน้อยหรือหมดไปได้ สิ่งสำคัญจะต้องมีการให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง ผู้เลี้ยงดูเด็ก และส่งเสริมให้ครอบครัวและชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กด้วย
จากสภาพปัญหาดังกล่าว โรงเรียนบ้านม่วงเตี้ยจึงได้จัดทำ“โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมสุขภาพนักเรียน” เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะทุพโภชนาการเด็กและติดตามเด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์, เกินเกณฑ์และกลุ่มเสี่ยงส่งเสริมให้เด็กได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อร่างกายส่งเสริมการออกกำลังกายและพัฒนาการ ทางด้านสติปัญญาด้วย โดยการมีส่วนร่วมของครอบครัวในการแก้ไขปัญหาให้กับนักเรียนอย่างต่อเนื่อง จึงได้จัดทำโครงการนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อเฝ้าระวังและติดตามโภชนาการเด็กที่เสี่ยงต่อการมีภาวะปัญหาภาวะโภชนาการ
- เพื่อให้ผู้ปกครอง มีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็ก และส่งเสริมให้เด็กรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ครบถ้วนตามหลักโภชนาการ
- เพื่อให้นักเรียนที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ เกินเกณฑ์ และกลุ่มเสี่ยง ได้รับการติดตาม ดูแลอย่างใกล้ชิด
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน การเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ ครบถ้วนตามหลักโภชนาการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้โภชนาการเด็กวัยเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 65 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เพื่อให้ผู้ปกครองนักเรียน มีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็ก และส่งเสริมให้นักเรียนรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ครบถ้วนตามหลักโภชนาการ
- นักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการรับประทานอาหาร
- นักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการทุกคนได้รับประทานอาหารเช้าที่มีสารอาหารครบถ้วนตามความต้องการของร่างกาย
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อเฝ้าระวังและติดตามโภชนาการเด็กที่เสี่ยงต่อการมีภาวะปัญหาภาวะโภชนาการ ตัวชี้วัด : เด็กนักเรียนได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการอย่างครอบคลุม |
|
|||
2 | เพื่อให้ผู้ปกครอง มีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็ก และส่งเสริมให้เด็กรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ครบถ้วนตามหลักโภชนาการ ตัวชี้วัด : ผู้ปกครองมีความรู้และเข้าใจเรื่องภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน |
|
|||
3 | เพื่อให้นักเรียนที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ เกินเกณฑ์ และกลุ่มเสี่ยง ได้รับการติดตาม ดูแลอย่างใกล้ชิด ตัวชี้วัด : นักเรียนที่มีปัญหาโภชนาการมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหารได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมตามวัย |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 65 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 65 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังและติดตามโภชนาการเด็กที่เสี่ยงต่อการมีภาวะปัญหาภาวะโภชนาการ (2) เพื่อให้ผู้ปกครอง มีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็ก และส่งเสริมให้เด็กรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ครบถ้วนตามหลักโภชนาการ (3) เพื่อให้นักเรียนที่น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ เกินเกณฑ์ และกลุ่มเสี่ยง ได้รับการติดตาม ดูแลอย่างใกล้ชิด
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ความรู้เกี่ยวกับภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน การเลือกบริโภคอาหารที่มีประโยชน์ ครบถ้วนตามหลักโภชนาการและแลกเปลี่ยนเรียนรู้โภชนาการเด็กวัยเรียน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการและส่งเสริมสุขภาพนักเรียน จังหวัด ปัตตานี
รหัสโครงการ 68-L3020-02-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาวมลฤดี ศิริยะพันธ์ุ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......