กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการคัดกรองเบาหวานและความดันโลหิตสูงในประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปและกิจกรรมการประชุมเชิงปฎิบัติการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและแลกเปลี่ยนเรียนรู้กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงฯนำร่อง

แบบประเมินผลการดำเนินงาน (Performance/Product Evaluation)

 เป้าประสงค์หรือวัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด(Indicator)สถานการณ์เป้าหมายผลผลิต
(Output)
ผลลัพธ์
(Outcome)
ผลกระทบ
(Impact)
อธิบายข้อสังเกตที่สำคัญ
1 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของประชาชนทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวานลดลง
3.00 1.00

 

 

 

2 เพื่อแก้ปัญหาประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
ตัวชี้วัด : ร้อยละประชาชนที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูงลดลง
3.00 1.00

 

 

 

3 เพื่อแก้ปัญหาผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่เกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น เบาหวานขึ้นจอประสาทตา แผล ไตวาย ลดลง
3.00 1.00

 

 

 

4 1.ประชากร อายุ 15 ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองเบาหวาน ความดันโลหิตสูงฯ 2.กลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ได้รับการตรวจยืนยันวินิจฉัย มากกว่าร้อยละ 72 3.ผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงเข้าถึงการตรวจภาวะแทรกซ้อนทางห้องปฎิบัติการ ตรวจ HbA1C,Creatinine,LDL ในไตรมาสแรก มากกว่าร้อยละ 72 4.ผู้ป่วยรายใหม่โรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูงลดลง 5.ผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและแลกร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละของการตรวจยืนยีนวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน และความดันโลหิตสูง 2.ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี ร้อยละ 40 3.ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมระดับความดันโลหิตได้ดี ร้อยละ 40
3.00 1.00