ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย กิจกรรมขาไถ ในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดสุภาษิตาราม ปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย กิจกรรมขาไถ ในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดสุภาษิตาราม ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางสาววันวิสา แป้นจุลสี
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย กิจกรรมขาไถ ในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดสุภาษิตาราม ปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3333-03-14 เลขที่ข้อตกลง 13/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย กิจกรรมขาไถ ในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดสุภาษิตาราม ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย กิจกรรมขาไถ ในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดสุภาษิตาราม ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย กิจกรรมขาไถ ในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดสุภาษิตาราม ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-L3333-03-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
เด็กในวัย 2-5 ปี ธรรมชาติของเด็กจะเรียนรู้ผ่านการเคลื่อนไหว การทำกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งโดยปกติในช่วงเช้าที่สถานศึกษาจะมีกิจกรรมให้เด็ก ๆ ได้ทำการเคลื่อนไหวเข้าจังหวะประมาณ 20 นาที เพื่อทำให้ร่างกายของเด็กพร้อมที่จะเรียนหนังสือ ทำกิจกรรมในห้องเรียนได้อย่างคล่องแคล่ว ดังนั้นการเตรียมความพร้อมและพัฒนาร่างกายของเด็กให้เจริญเติบโตแข็งแรง จึงเป็นสิ่งสำคัญในชีวิตประจำวันสำหรับเด็ก โดยครูจะเป็นผู้หากิจกรรมเล่นกับเด็ก ๆ ไม่ว่าจะเป็น การทรงตัว การเดิน การวิ่ง การกระโดด การคลาน การนอน การเอียงตัว ฯลฯ เพราะจะช่วยให้กล้ามเนื้อมีความแข็งแรงเพิ่มขึ้น และยังช่วยเสริมสร้างการประสานงานของระบบประสาทส่วนกลางกับกล้ามเนื้อ ส่งผลให้มือ เท้า ตา เคลื่อนไหว สัมพันธ์กัน
ธรรมชาติของเด็ก ๆ อายุระหว่าง 2-5 ปี จะใช้ขาไถจักรยานก่อนที่จะใช้ขาปั่นจักรยาน ฉะนั้นจักรยาน BALANCE BIKE จะมาแทนจักรยาน 3 ล้อและจักรยานที่มี ล้อพ่วงข้าง ซึ่งเด็กจะมีความมั่นใจในการเล่นปราศจากความกลัว โดยให้เด็กใช้สองเท้าทั้งสองข้างยันพื้น และก้าวเดินไปข้างหน้าพร้อมจักรยานด้วยตนเอง ซึ่งวิธีนี้จะช่วยให้เด็กสามารถฝึกการทรงตัวได้อย่างถูกวิธีตั้งแต่แรกเริ่ม อีกทั้งยังช่วยเสริมทักษะ ด้านกีฬา ความคิด การมองเห็น การแก้ไขเหตุการณ์เฉพาะหน้า ศาสตร์สัมพันธ์ุของตา มือ-เท้า และ ซ้าย ขวา บน ล่าง การพัฒนาของกล้ามเนื้อ ฉนั้นจักรยานทรงตัว จึงเป็นตัวเลือกที่ดีที่สุดสำหรับการเริ่มต้นของเด็ก ก่อนที่จะไปถึงการปั่นจักรยาน การเล่น จักรยานขาไถ BALANCE BIKE เด็ก ๆ จะได้รับเสริมทักษะและพัฒนาการคือ 1. การมองเห็นภาพ 3 มิติ เด็ก ๆ ที่เล่น BALANCE BIKE จะสามารถแยกแยะระยะทางใกล้ไกลได้ดีกว่าเด็ก ๆ ทั่วไปเพราะเด็ก ๆ ที่เล่นจะเดินได้เร็วกว่าเด็ก ๆ ที่เดิน หรือวิ่งปกติ จึงทำให้ประสาทการมองเห็นเร็วด้วยเช่นกัน2. การมองเห็นสีและการแยกแยะสีต่าง ๆ รอบตัว เพราะเด็ก ๆ ที่ขี่จักรยานผ่านสีต่าง ๆ รอบตัวที่เร็วกว่า จึงแยกแยะสีได้ดีด้วยเช่นกัน 3. การขยับมือและแขน การขี่จักรยาน BALANCE BIKE จะต้องใช้มือในการบังคับทิศทางจึงทำให้ร่างกายท่อนบนกับมือและแขนได้ทำงานประสานกันข้อนี้พัฒนาการจะมาจากการที่เด็ก ๆ ได้ทำกิจกรรรมอย่างอื่นไปพร้อมๆกันด้วย 4. การพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กและมัดใหญ่ของขาทั้งขาจนขึ้นมา ถึงหลัง การเล่นจักรยานBALANCE BIKE จะมีส่วนช่วยในการพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่มากที่สุด 5. การยืนตัวตรง ส่งผลมาจากกล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่ที่แข็งแรงจึงทำให้การยืนและเดินตัวตรง จึงทำให้เด็ก ๆ มีบุคลิกที่ดีดังนั้นทางศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดสุภาษิตาราม จึงจัดทำโครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (กิจกรรมรถขาไถ) ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็กสามารถเรียนรู้การทรงตัวซึ่งเป็นทักษะที่สำคัญก่อนที่จะปั่นจักรยานเด็กสองล้อ
- เพื่อฝึกการตัดสินใจและใช้ไหวพริบในการควบคุมทิศทาง
- เพื่อเสริมสร้างพัฒนาการทางร่างกายในการสร้างกล้ามเนื้อแขนขาให้แข็งแรง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมเพื่อวางแผนการดำเนินงาน
- ประเมินพัฒนาการและทดสอบกล้ามเนื้อมัดเล็ก มัดใหญ่ ของนักเรียน ก่อนเข้าร่วมกิจกรรม
- จัดซื้อรถขาไถและอุปกรณ์ป้องกันสำหรับเด็กปฐมวัย
- จัดกิจกรรมออกกำลังกายด้วยรถขาไถหรือ Balance Bike เพื่อการพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่ ฝึกการทรงตัว การใช้มือและแขนบังคับทิศทาง การใช้กล้ามเนื้อขา โดยบูรณาการเข้ากับกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
- ประเมินพัฒนาการและทดสอบกล้ามเนื้อมัดเล็ก มัดใหญ่ ของนักเรียน หลังเข้าร่วมกิจกรรม
- สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
13
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กสามารถเรียนรู้การทรงตัวซึ่งเป็นทักษะที่สำคัญก่อนที่จะปั่นจักยานเด็กสองล้อ
- เด็กได้รับฝึกการตัดสินใจและใช้ไหวพริบในการควบคุมทิศทาง
- เด็กมีพัฒนาการทางร่างกายในการสร้างกล้ามเนื้อแขนขาที่แข็งแรง
- เด็กมีความสุข สนุกและมีสุขภาพจิตที่ดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้เด็กสามารถเรียนรู้การทรงตัวซึ่งเป็นทักษะที่สำคัญก่อนที่จะปั่นจักรยานเด็กสองล้อ
ตัวชี้วัด : เด็กสามารถเรียนรู้การทรงตัวซึ่งเป็นทักษะที่สำคัญก่อนที่จะปั่นจักรยานเด็กสองล้อ ร้อยละ 90
0.00
2
เพื่อฝึกการตัดสินใจและใช้ไหวพริบในการควบคุมทิศทาง
ตัวชี้วัด : เด็กสามารถตัดสินใจและใช้ไหวพริบในการควบคุมทิศทางได้ ร้อยละ 90
0.00
3
เพื่อเสริมสร้างพัฒนาการทางร่างกายในการสร้างกล้ามเนื้อแขนขาให้แข็งแรง
ตัวชี้วัด : เด็กมีพัฒนาการทางร่างกายในการสร้างกล้ามเนื้อแขนขาให้แข็งแรง ร้อยละ 80
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
13
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
13
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กสามารถเรียนรู้การทรงตัวซึ่งเป็นทักษะที่สำคัญก่อนที่จะปั่นจักรยานเด็กสองล้อ (2) เพื่อฝึกการตัดสินใจและใช้ไหวพริบในการควบคุมทิศทาง (3) เพื่อเสริมสร้างพัฒนาการทางร่างกายในการสร้างกล้ามเนื้อแขนขาให้แข็งแรง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเพื่อวางแผนการดำเนินงาน (2) ประเมินพัฒนาการและทดสอบกล้ามเนื้อมัดเล็ก มัดใหญ่ ของนักเรียน ก่อนเข้าร่วมกิจกรรม (3) จัดซื้อรถขาไถและอุปกรณ์ป้องกันสำหรับเด็กปฐมวัย (4) จัดกิจกรรมออกกำลังกายด้วยรถขาไถหรือ Balance Bike เพื่อการพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่ ฝึกการทรงตัว การใช้มือและแขนบังคับทิศทาง การใช้กล้ามเนื้อขา โดยบูรณาการเข้ากับกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ (5) ประเมินพัฒนาการและทดสอบกล้ามเนื้อมัดเล็ก มัดใหญ่ ของนักเรียน หลังเข้าร่วมกิจกรรม (6) สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย กิจกรรมขาไถ ในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดสุภาษิตาราม ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3333-03-14
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาววันวิสา แป้นจุลสี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย กิจกรรมขาไถ ในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดสุภาษิตาราม ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางสาววันวิสา แป้นจุลสี
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3333-03-14 เลขที่ข้อตกลง 13/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 28 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย กิจกรรมขาไถ ในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดสุภาษิตาราม ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย กิจกรรมขาไถ ในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดสุภาษิตาราม ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย กิจกรรมขาไถ ในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดสุภาษิตาราม ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-L3333-03-14 ระยะเวลาการดำเนินงาน 28 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)
เด็กในวัย 2-5 ปี ธรรมชาติของเด็กจะเรียนรู้ผ่านการเคลื่อนไหว การทำกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งโดยปกติในช่วงเช้าที่สถานศึกษาจะมีกิจกรรมให้เด็ก ๆ ได้ทำการเคลื่อนไหวเข้าจังหวะประมาณ 20 นาที เพื่อทำให้ร่างกายของเด็กพร้อมที่จะเรียนหนังสือ ทำกิจกรรมในห้องเรียนได้อย่างคล่องแคล่ว ดังนั้นการเตรียมความพร้อมและพัฒนาร่างกายของเด็กให้เจริญเติบโตแข็งแรง จึงเป็นสิ่งสำคัญในชีวิตประจำวันสำหรับเด็ก โดยครูจะเป็นผู้หากิจกรรมเล่นกับเด็ก ๆ ไม่ว่าจะเป็น การทรงตัว การเดิน การวิ่ง การกระโดด การคลาน การนอน การเอียงตัว ฯลฯ เพราะจะช่วยให้กล้ามเนื้อมีความแข็งแรงเพิ่มขึ้น และยังช่วยเสริมสร้างการประสานงานของระบบประสาทส่วนกลางกับกล้ามเนื้อ ส่งผลให้มือ เท้า ตา เคลื่อนไหว สัมพันธ์กัน
ธรรมชาติของเด็ก ๆ อายุระหว่าง 2-5 ปี จะใช้ขาไถจักรยานก่อนที่จะใช้ขาปั่นจักรยาน ฉะนั้นจักรยาน BALANCE BIKE จะมาแทนจักรยาน 3 ล้อและจักรยานที่มี ล้อพ่วงข้าง ซึ่งเด็กจะมีความมั่นใจในการเล่นปราศจากความกลัว โดยให้เด็กใช้สองเท้าทั้งสองข้างยันพื้น และก้าวเดินไปข้างหน้าพร้อมจักรยานด้วยตนเอง ซึ่งวิธีนี้จะช่วยให้เด็กสามารถฝึกการทรงตัวได้อย่างถูกวิธีตั้งแต่แรกเริ่ม อีกทั้งยังช่วยเสริมทักษะ ด้านกีฬา ความคิด การมองเห็น การแก้ไขเหตุการณ์เฉพาะหน้า ศาสตร์สัมพันธ์ุของตา มือ-เท้า และ ซ้าย ขวา บน ล่าง การพัฒนาของกล้ามเนื้อ ฉนั้นจักรยานทรงตัว จึงเป็นตัวเลือกที่ดีที่สุดสำหรับการเริ่มต้นของเด็ก ก่อนที่จะไปถึงการปั่นจักรยาน การเล่น จักรยานขาไถ BALANCE BIKE เด็ก ๆ จะได้รับเสริมทักษะและพัฒนาการคือ 1. การมองเห็นภาพ 3 มิติ เด็ก ๆ ที่เล่น BALANCE BIKE จะสามารถแยกแยะระยะทางใกล้ไกลได้ดีกว่าเด็ก ๆ ทั่วไปเพราะเด็ก ๆ ที่เล่นจะเดินได้เร็วกว่าเด็ก ๆ ที่เดิน หรือวิ่งปกติ จึงทำให้ประสาทการมองเห็นเร็วด้วยเช่นกัน2. การมองเห็นสีและการแยกแยะสีต่าง ๆ รอบตัว เพราะเด็ก ๆ ที่ขี่จักรยานผ่านสีต่าง ๆ รอบตัวที่เร็วกว่า จึงแยกแยะสีได้ดีด้วยเช่นกัน 3. การขยับมือและแขน การขี่จักรยาน BALANCE BIKE จะต้องใช้มือในการบังคับทิศทางจึงทำให้ร่างกายท่อนบนกับมือและแขนได้ทำงานประสานกันข้อนี้พัฒนาการจะมาจากการที่เด็ก ๆ ได้ทำกิจกรรรมอย่างอื่นไปพร้อมๆกันด้วย 4. การพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กและมัดใหญ่ของขาทั้งขาจนขึ้นมา ถึงหลัง การเล่นจักรยานBALANCE BIKE จะมีส่วนช่วยในการพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่มากที่สุด 5. การยืนตัวตรง ส่งผลมาจากกล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่ที่แข็งแรงจึงทำให้การยืนและเดินตัวตรง จึงทำให้เด็ก ๆ มีบุคลิกที่ดีดังนั้นทางศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดสุภาษิตาราม จึงจัดทำโครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (กิจกรรมรถขาไถ) ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เด็กสามารถเรียนรู้การทรงตัวซึ่งเป็นทักษะที่สำคัญก่อนที่จะปั่นจักรยานเด็กสองล้อ
- เพื่อฝึกการตัดสินใจและใช้ไหวพริบในการควบคุมทิศทาง
- เพื่อเสริมสร้างพัฒนาการทางร่างกายในการสร้างกล้ามเนื้อแขนขาให้แข็งแรง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- ประชุมเพื่อวางแผนการดำเนินงาน
- ประเมินพัฒนาการและทดสอบกล้ามเนื้อมัดเล็ก มัดใหญ่ ของนักเรียน ก่อนเข้าร่วมกิจกรรม
- จัดซื้อรถขาไถและอุปกรณ์ป้องกันสำหรับเด็กปฐมวัย
- จัดกิจกรรมออกกำลังกายด้วยรถขาไถหรือ Balance Bike เพื่อการพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่ ฝึกการทรงตัว การใช้มือและแขนบังคับทิศทาง การใช้กล้ามเนื้อขา โดยบูรณาการเข้ากับกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ
- ประเมินพัฒนาการและทดสอบกล้ามเนื้อมัดเล็ก มัดใหญ่ ของนักเรียน หลังเข้าร่วมกิจกรรม
- สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 13 | |
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เด็กสามารถเรียนรู้การทรงตัวซึ่งเป็นทักษะที่สำคัญก่อนที่จะปั่นจักยานเด็กสองล้อ
- เด็กได้รับฝึกการตัดสินใจและใช้ไหวพริบในการควบคุมทิศทาง
- เด็กมีพัฒนาการทางร่างกายในการสร้างกล้ามเนื้อแขนขาที่แข็งแรง
- เด็กมีความสุข สนุกและมีสุขภาพจิตที่ดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เด็กสามารถเรียนรู้การทรงตัวซึ่งเป็นทักษะที่สำคัญก่อนที่จะปั่นจักรยานเด็กสองล้อ ตัวชี้วัด : เด็กสามารถเรียนรู้การทรงตัวซึ่งเป็นทักษะที่สำคัญก่อนที่จะปั่นจักรยานเด็กสองล้อ ร้อยละ 90 |
0.00 |
|
||
2 | เพื่อฝึกการตัดสินใจและใช้ไหวพริบในการควบคุมทิศทาง ตัวชี้วัด : เด็กสามารถตัดสินใจและใช้ไหวพริบในการควบคุมทิศทางได้ ร้อยละ 90 |
0.00 |
|
||
3 | เพื่อเสริมสร้างพัฒนาการทางร่างกายในการสร้างกล้ามเนื้อแขนขาให้แข็งแรง ตัวชี้วัด : เด็กมีพัฒนาการทางร่างกายในการสร้างกล้ามเนื้อแขนขาให้แข็งแรง ร้อยละ 80 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 13 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | 13 | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กสามารถเรียนรู้การทรงตัวซึ่งเป็นทักษะที่สำคัญก่อนที่จะปั่นจักรยานเด็กสองล้อ (2) เพื่อฝึกการตัดสินใจและใช้ไหวพริบในการควบคุมทิศทาง (3) เพื่อเสริมสร้างพัฒนาการทางร่างกายในการสร้างกล้ามเนื้อแขนขาให้แข็งแรง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมเพื่อวางแผนการดำเนินงาน (2) ประเมินพัฒนาการและทดสอบกล้ามเนื้อมัดเล็ก มัดใหญ่ ของนักเรียน ก่อนเข้าร่วมกิจกรรม (3) จัดซื้อรถขาไถและอุปกรณ์ป้องกันสำหรับเด็กปฐมวัย (4) จัดกิจกรรมออกกำลังกายด้วยรถขาไถหรือ Balance Bike เพื่อการพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กมัดใหญ่ ฝึกการทรงตัว การใช้มือและแขนบังคับทิศทาง การใช้กล้ามเนื้อขา โดยบูรณาการเข้ากับกิจกรรมเคลื่อนไหวและจังหวะ (5) ประเมินพัฒนาการและทดสอบกล้ามเนื้อมัดเล็ก มัดใหญ่ ของนักเรียน หลังเข้าร่วมกิจกรรม (6) สรุปและรายงานผลการดำเนินงาน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
ส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย กิจกรรมขาไถ ในศูนย์อบรมเด็กก่อนเกณฑ์ในวัดสุภาษิตาราม ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3333-03-14
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาววันวิสา แป้นจุลสี )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......