โครงการอาหารปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภคในชุมชน
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการอาหารปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภคในชุมชน ”
ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางสาววรวรรณ คำคง
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนเสาธง
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการอาหารปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภคในชุมชน
ที่อยู่ ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3329-2-27 เลขที่ข้อตกลง 41/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอาหารปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภคในชุมชน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนเสาธง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอาหารปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภคในชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอาหารปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภคในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-L3329-2-27 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนเสาธง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข เป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการควบคุม กำกับ ดูแลและบังคับใช้กฎหมายที่ เกี่ยวข้องกับ ผลิตภัณฑ์สุขภาพเป็นผลิตภัณฑ์สำหรับบริโภคที่ส่งผลโดยตรงต่อภาวะสุขภาพประกอบด้วย อาหาร ยา เครื่องสำอาง อาหารเสริม เป็นต้น แม้ว่าผลิตภัณฑ์ดังกล่าวล้วนมี มาตราการภาครัฐสำหรับควบคุมคุณภาพมาตรฐานและ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความปลอดภัยต่อผู้บริโภค แต่ก็มีรายงานการตรวจพบสารอันตรายห้ามใช้หรือสิ่งควบคุมเกินมาตรฐาน กำหนดในผลิตภัณฑ์สุขภาพต่างๆมาโดยตลอดการดำเนินงานเฝ้าระวังความปลอดภัยในการบริโภค ด้านอาหาร เครื่องดื่ม ผลิตภัณฑ์สุขภาพต่างๆ เช่น อาหาร ยา เครื่องสำอางรวมทั้งอาหารเสริมในร้านชำ วัตถุประสงค์เพื่อคุ้มครองความปลอดภัย ของผู้บริโภคด้านต่างๆในชุมชน เนื่องจากพบว่าในหมู่บ้านที่ห่างไกลความเจริญ สื่อความรู้ต่างๆเข้าไม่ถึงหรือยังมีน้อย พบว่ามี ร้านค้าในชุมชน รวมทั้งรถเร่ นำสินค้าที่ไม่ได้คุณภาพ ไม่มีฉลากภาษาไทยมาจำหน่ายแก่ประชาชนในชุมชน ประกอบกับใน ปัจจุบันมีการโฆษณาชวนเชื่อผลิตภัณฑ์สุขภาพในคลื่นวิทยุชุมชน ผู้บริโภคที่ขาดความรู้ในการบริโภคด้านต่างๆ อาจตกเป็น เหยื่อ หรือได้รับอันตรายจากการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานจากการหลงเชื่อโฆษณาเหล่านั้น รวมทั้งผลิตภัณฑ์ ยาปฏิชีวนะและอาหารเสริมที่มีส่วนผสมสเตียรอยด์ ทำให้เกิดการรับสารที่อันตรายและได้รับอย่าง
ไม่สมเหตุสมผล ส่งผลต่อ คุณภาพชีวิตของประชาชนระยะยาว
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านได้เห็นถึงความจำเป็นที่ต้องดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชนด้วยพลังของชุมชนเป็นระบบ เครือข่าย และคณะทำงานร่วมกันในทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเพื่อทำหน้าที่เฝ้าระวังการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ สุขภาพที่ไม่ได้ มาตรฐาน ยา ไม่ปลอดภัย การโฆษณาชวนเชื่อการเฝ้าระวังรถเร่ หรือผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานในชุมชน ทำให้ชุมชน ปลอดภัยจาการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ เฝ้าระวังความปลอดภัยของประชาชนและชุมชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้อสม. อย.น้อย มีความรู้ ความเข้าใจในการตรวจประเมินอาหารเบื้องต้นที่ถูกต้อง
- เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจอย่างถูกต้องในการเลือกใช้อาหารอย่างปลอดภัย
- เพื่อให้ร้านค้าได้รับการตรวจอาหารจกชุดทดสอบอย่างถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
40
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อสม. อย.น้อย ผู้ประกอบการมีความรู้ ความเข้าใจในการตรวจประเมินอาหารเบื้องต้นที่ถูกต้อง
- ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจอย่างถูกต้องในการเลือกใช้อาหารอย่างปลอดภัย
- ร้านค้าได้รับการตรวจอาหารจากชุดทดสอบอย่างถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
นักเรียน อย.น้อย ครูอนามัยโรงเรียน อสม.นักวิทย์ ร้านค้าในชุมชนและประชาชนทั่วไปให้ความสนใจและให้ความร่วมมือในการดำเนินโครงการเป็นอย่างดี ภายหลังการดำเนินโครงการพบว่า นักเรียน อย.น้อย ครูอนามัยโรงเรียน อสม.นักวิทย์ ร้านค้าในชุมชนและประชาชนทั่วไปที่เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้เรื่องการอ่านแลากอาหารบนผลิตภัณฑ์ได้เป็นอย่างดี สามารถเลือกซื้อและบริโภคอาหารที่เหมาะสมได้ สามารถเลือกซื้อและใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพได้เป็นอย่างดี มีความรู้ในการรับฟังข้อมูลข่าวสารจากการโฆษณาชวนเชื่อเกี่ยวกับอาหาร ผลิตภัณฑ์สุขภาพต่างๆ และจากการดำเนินการตรวจร้านค้าในชุมชนพบว่า ร้านค้าในชุมชนไม่มีการจำหน่ายยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ผิดกฎหมาย การสุ่มตรวจอาหารที่จำหน่ายในชุมชน จำนวน 2 ร้านและรถขายเร่อาหารในชุมชน ผลพบว่าไม่พบสารกันเชื้อรา ไม่พบสารฟอกขาว ไม่พบบอแรกซ์ ไม่พบฟอร์มา่ลีนในอาหารและผลไม้ พบสารโพล่าในน้ำมันทอดซ้ำ จำนวน 1 ร้าน และไม่พบสารโพล่าในน้ำมันทอดซ้ำจำนวน 2 ร้าน หลังการทดสอบอาหารและคืนข้อมูลให้แก่ร้านค้าและประชาชนในชุมชนพบว่า ร้านค้าในชุมชนให้ความร่วมมือในการปรับเปลียนให้ถูกต้องและปลอดภัยกับผู้บริโภค ประชาชนตระหนักและสามารถเลือกใช้อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพได้ถูกต้อง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้อสม. อย.น้อย มีความรู้ ความเข้าใจในการตรวจประเมินอาหารเบื้องต้นที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
2
เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจอย่างถูกต้องในการเลือกใช้อาหารอย่างปลอดภัย
ตัวชี้วัด :
3
เพื่อให้ร้านค้าได้รับการตรวจอาหารจกชุดทดสอบอย่างถูกต้อง
ตัวชี้วัด :
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
40
48
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
40
48
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้อสม. อย.น้อย มีความรู้ ความเข้าใจในการตรวจประเมินอาหารเบื้องต้นที่ถูกต้อง (2) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจอย่างถูกต้องในการเลือกใช้อาหารอย่างปลอดภัย (3) เพื่อให้ร้านค้าได้รับการตรวจอาหารจกชุดทดสอบอย่างถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการอาหารปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภคในชุมชน จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3329-2-27
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสาววรวรรณ คำคง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการอาหารปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภคในชุมชน ”
ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางสาววรวรรณ คำคง
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3329-2-27 เลขที่ข้อตกลง 41/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มกราคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการอาหารปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภคในชุมชน จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนเสาธง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการอาหารปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภคในชุมชน
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการอาหารปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภคในชุมชน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลแม่ขรี อำเภอตะโหมด จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-L3329-2-27 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มกราคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลควนเสาธง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
การคุ้มครองผู้บริโภคด้านสาธารณสุข เป็นงานที่เกี่ยวข้องกับการควบคุม กำกับ ดูแลและบังคับใช้กฎหมายที่ เกี่ยวข้องกับ ผลิตภัณฑ์สุขภาพเป็นผลิตภัณฑ์สำหรับบริโภคที่ส่งผลโดยตรงต่อภาวะสุขภาพประกอบด้วย อาหาร ยา เครื่องสำอาง อาหารเสริม เป็นต้น แม้ว่าผลิตภัณฑ์ดังกล่าวล้วนมี มาตราการภาครัฐสำหรับควบคุมคุณภาพมาตรฐานและ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความปลอดภัยต่อผู้บริโภค แต่ก็มีรายงานการตรวจพบสารอันตรายห้ามใช้หรือสิ่งควบคุมเกินมาตรฐาน กำหนดในผลิตภัณฑ์สุขภาพต่างๆมาโดยตลอดการดำเนินงานเฝ้าระวังความปลอดภัยในการบริโภค ด้านอาหาร เครื่องดื่ม ผลิตภัณฑ์สุขภาพต่างๆ เช่น อาหาร ยา เครื่องสำอางรวมทั้งอาหารเสริมในร้านชำ วัตถุประสงค์เพื่อคุ้มครองความปลอดภัย ของผู้บริโภคด้านต่างๆในชุมชน เนื่องจากพบว่าในหมู่บ้านที่ห่างไกลความเจริญ สื่อความรู้ต่างๆเข้าไม่ถึงหรือยังมีน้อย พบว่ามี ร้านค้าในชุมชน รวมทั้งรถเร่ นำสินค้าที่ไม่ได้คุณภาพ ไม่มีฉลากภาษาไทยมาจำหน่ายแก่ประชาชนในชุมชน ประกอบกับใน ปัจจุบันมีการโฆษณาชวนเชื่อผลิตภัณฑ์สุขภาพในคลื่นวิทยุชุมชน ผู้บริโภคที่ขาดความรู้ในการบริโภคด้านต่างๆ อาจตกเป็น เหยื่อ หรือได้รับอันตรายจากการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานจากการหลงเชื่อโฆษณาเหล่านั้น รวมทั้งผลิตภัณฑ์ ยาปฏิชีวนะและอาหารเสริมที่มีส่วนผสมสเตียรอยด์ ทำให้เกิดการรับสารที่อันตรายและได้รับอย่าง ไม่สมเหตุสมผล ส่งผลต่อ คุณภาพชีวิตของประชาชนระยะยาว ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านได้เห็นถึงความจำเป็นที่ต้องดำเนินงานคุ้มครองผู้บริโภคในชุมชนด้วยพลังของชุมชนเป็นระบบ เครือข่าย และคณะทำงานร่วมกันในทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องเพื่อทำหน้าที่เฝ้าระวังการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ สุขภาพที่ไม่ได้ มาตรฐาน ยา ไม่ปลอดภัย การโฆษณาชวนเชื่อการเฝ้าระวังรถเร่ หรือผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานในชุมชน ทำให้ชุมชน ปลอดภัยจาการบริโภคผลิตภัณฑ์สุขภาพ เฝ้าระวังความปลอดภัยของประชาชนและชุมชน
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้อสม. อย.น้อย มีความรู้ ความเข้าใจในการตรวจประเมินอาหารเบื้องต้นที่ถูกต้อง
- เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจอย่างถูกต้องในการเลือกใช้อาหารอย่างปลอดภัย
- เพื่อให้ร้านค้าได้รับการตรวจอาหารจกชุดทดสอบอย่างถูกต้อง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 40 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- อสม. อย.น้อย ผู้ประกอบการมีความรู้ ความเข้าใจในการตรวจประเมินอาหารเบื้องต้นที่ถูกต้อง
- ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจอย่างถูกต้องในการเลือกใช้อาหารอย่างปลอดภัย
- ร้านค้าได้รับการตรวจอาหารจากชุดทดสอบอย่างถูกต้อง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
นักเรียน อย.น้อย ครูอนามัยโรงเรียน อสม.นักวิทย์ ร้านค้าในชุมชนและประชาชนทั่วไปให้ความสนใจและให้ความร่วมมือในการดำเนินโครงการเป็นอย่างดี ภายหลังการดำเนินโครงการพบว่า นักเรียน อย.น้อย ครูอนามัยโรงเรียน อสม.นักวิทย์ ร้านค้าในชุมชนและประชาชนทั่วไปที่เข้าร่วมกิจกรรม มีความรู้เรื่องการอ่านแลากอาหารบนผลิตภัณฑ์ได้เป็นอย่างดี สามารถเลือกซื้อและบริโภคอาหารที่เหมาะสมได้ สามารถเลือกซื้อและใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพได้เป็นอย่างดี มีความรู้ในการรับฟังข้อมูลข่าวสารจากการโฆษณาชวนเชื่อเกี่ยวกับอาหาร ผลิตภัณฑ์สุขภาพต่างๆ และจากการดำเนินการตรวจร้านค้าในชุมชนพบว่า ร้านค้าในชุมชนไม่มีการจำหน่ายยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ผิดกฎหมาย การสุ่มตรวจอาหารที่จำหน่ายในชุมชน จำนวน 2 ร้านและรถขายเร่อาหารในชุมชน ผลพบว่าไม่พบสารกันเชื้อรา ไม่พบสารฟอกขาว ไม่พบบอแรกซ์ ไม่พบฟอร์มา่ลีนในอาหารและผลไม้ พบสารโพล่าในน้ำมันทอดซ้ำ จำนวน 1 ร้าน และไม่พบสารโพล่าในน้ำมันทอดซ้ำจำนวน 2 ร้าน หลังการทดสอบอาหารและคืนข้อมูลให้แก่ร้านค้าและประชาชนในชุมชนพบว่า ร้านค้าในชุมชนให้ความร่วมมือในการปรับเปลียนให้ถูกต้องและปลอดภัยกับผู้บริโภค ประชาชนตระหนักและสามารถเลือกใช้อาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพได้ถูกต้อง
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้อสม. อย.น้อย มีความรู้ ความเข้าใจในการตรวจประเมินอาหารเบื้องต้นที่ถูกต้อง ตัวชี้วัด : |
|
|||
2 | เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจอย่างถูกต้องในการเลือกใช้อาหารอย่างปลอดภัย ตัวชี้วัด : |
|
|||
3 | เพื่อให้ร้านค้าได้รับการตรวจอาหารจกชุดทดสอบอย่างถูกต้อง ตัวชี้วัด : |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 40 | 48 | |
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | 40 | 48 | |
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้อสม. อย.น้อย มีความรู้ ความเข้าใจในการตรวจประเมินอาหารเบื้องต้นที่ถูกต้อง (2) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจอย่างถูกต้องในการเลือกใช้อาหารอย่างปลอดภัย (3) เพื่อให้ร้านค้าได้รับการตรวจอาหารจกชุดทดสอบอย่างถูกต้อง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการอาหารปลอดภัยใส่ใจผู้บริโภคในชุมชน จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3329-2-27
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสาววรวรรณ คำคง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......