กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลกะลุวอเหนือ ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม




ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลกะลุวอเหนือ ประจำปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 68-L2491-1-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลกะลุวอเหนือ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลกะลุวอเหนือ ประจำปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลกะลุวอเหนือ ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2491-1-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 200,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ไข้เลือดออกเป็นปัญหาสาธารณสุขของประเทศไทย เป็นโรคติดต่อที่มียุงลายเป็นพาหะ และก่อให้เกิดปัญหาทางสาธารณสุขในหลายประเทศทั่วโลกมากกว่า 100 ประเทศ โดยเฉพาะประเทศในกลุ่มอาเซียน เนื่องจากมีเขตที่ตั้งอยู่ในโซนร้อนชื้น และมีภูมิประเทศเหมาะต่อการขยายพันธุ์ของยุงลาย และมีแนวโน้มผู้ป่วยเพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด โดยองค์การอนามัยโลกได้คาดการณ์ว่าในแต่ละปีจะพบผู้ติดเชื้อไวรัสแดงกี่ จำนวน 50-100 ล้านราย และเสียชีวิตประมาณ 11,000 ราย ประเทศไทยเป็นหนึ่งในประเทศกลุ่มอาเซียนที่ประสบกับปัญหาการระบาดของโรคไข้เลือดออกเช่นกัน โดยจากการเฝ้าระวังของกรมควบคุมโรคตั้งแต่ วันที่ 1 มกราคม ถึงวันที่ 24 ธันวาคม 2567 (ข้อมูลจากระบบเฝ้าระวัง Digital 506 กรมควบคุมโรค) ประเทศไทยมีรายงานผู้ป่วยไข้เลือดออก (Dengue hemorrhagic fever : DHF, Dengue shock syndrome: DSS) สะสมรวม 104,674 รายอัตราป่วย 161.26 ต่อประชาการแสนคน มีรายงานผู้ป่วยเสียชีวิต จำนวน 85 ราย สำหรับพื้นที่เขตสุขภาพที่ 12 พบผู้ป่วย 14,247 ราย รายงานผู้เสียชีวิตจำนวน 11 ราย (จังหวัดยะลา 4 ราย, สงขลา 3 ราย, ปัตตานี 2 ราย, พัทลุง 1 รายและนราธิวาส 1 ราย) คิดเป็นอัตราป่วยตาย ร้อยละ 0.077 จังหวัดที่พบอัตราป่วยสุงสุด คือ จังหวัด พัทลุง 419.11 ต่อประชากรแสนคน (2,182 ราย) ส่วนจังหวัดนราธิวาส พบอัตราป่วย 261.11 ต่อประชากรแสนคน (2,108 ราย) จำแนกรายอำเภอของจังหวัดนริวาส ที่พบอัตราป่วยสุงสุดคือคือ อำเภอเจาะไอร้อง อัตราป่วย 742 ต่อประชากรแสนคน ส่วนอำเภอเมืองนราธิวาส พบอัตราป่วย 290.39ต่อประชากรแสนคน และจำนวนผู้ป่วยมากที่สุดของจังหวัดนราธิวาส คือ อำเภอเมืองนราธิวาส พบจำนวนผู้ป่วย 368 ราย ตำบลกะลุวอเหนือเป็นตำบลหนึ่งของเขตอำเภอเมืองนราธิวาส ซึ่งเป็นเขตอำเภอที่พบจำนวนผู้ป่วยมากที่สุดข้อมูลจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในเขตรับผิดชอบของเทศบาลตำบล กะลุวอเหนือที่ผ่านมาปีงบประมาณ 2567 ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2566 - 30 กันยายน 2567 พบว่าประชาชนในพื้นที่ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกจำนวน 46 ราย พบมาที่สุด หมู่ที่ 4 บ้านเขาตันหยง จำนวน 14 ราย รองลงมา หมู่ที่ 2 จำนวน 7 ราย หมู่ที่ 1 จำนวน 6 ราย หมู่ที่ 10 จำนวน 5 ราย หมู่ที่ 8 จำนวน 4 ราย หมู่ที่ 11 จำนวน 3 ราย หมู่ที่ 5,6,7 จำนวน 2 ราย และหมู่ที่ 3 จำนวน 1 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 246.14 ต่อประชากรแสนประชากร (ประชากรทั้งหมด 18,681 คน) (เกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุขกำหนดไว้ อัตราป่วยทั้งปี ไม่ควรเกิน 50 ต่อประชากรแสนคน) จากข้อมูลสถานการณ์โรคไข้เลือดออกข้างต้นนั้น จะเห็นได้อย่างชัดเจนว่าเป็นภัยคุกคามต่อสุขภาพของประชาชน สร้างผลกระทบต่อฐานะทางเศรษฐกิจการประกอบอาชีพของผู้ป่วยและครอบครัว รวมถึงส่งผลกระทบต่อค่าใช้จ่ายทางภาครัฐด้านการรักษาพยาบาลส่งผลให้เกิดความสูญเสียมากมายต่อเศรษฐกิจ สังคมของประเทศตามลำดับ
การควบคุมโรคไข้เลือดออกได้อย่างมีประสิทธิภาพ จะต้องมีมาตรการป้องกันและควบคุมโรคการหลากหลายรูปแบบ ได้แก่ มาตรการที่หนึ่ง คือ การสื่อสารความเสี่ยงโดยการให้สุขศึกษาและรณรงค์สร้างความตระหนักแก่ประชาชนและตามพื้นที่สำคัญต่างๆ มาตรการที่สอง คือ มาตรการเฝ้าระวัง เช่น การเฝ้าระวังค่าดัชนีลูกน้ำ โดยการสำรวจและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ในพื้นที่สำคัญ การเฝ้าระวังยุงตัวเต็มวัยโดยการพ่นหมอกควันตามสถานที่ พื้นที่ที่มีความเสี่ยง และช่วงก่อนการระบาด และมาตรการที่สาม คือ มาตรการควบคุมโรคโดยการควบคุมโรคตามมาตรการ 331 และดำเนินการต่อเนื่อง การเตรียมความพร้อมของทีมควบคุมโรคและทรัพยากร ดังนั้นเพื่อไม่ให้มีการระบาดของไข้เลือดออก จึงมีการจัดโครงการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก เพื่อป้องกันโดยการทำลายยุงลายและแหล่งเพาะพันธุ์ โดยการสร้างความเข้าใจ ตระหนักให้ความสำคัญ จึงเกิดความร่วมมือในชุมชนอย่างจริงจัง นำไปสู่การป้องกันไข้เลือดออกได้ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ประชาชนมีความตระหนัก และมีความรอบรู้ทางสุขภาพประเด็นการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
  2. 2. เพื่อควบคุมและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และยุงตัวเต็มวัยที่เป็นพาหะนะของโรคไข้เลือดออก
  3. 3. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกได้อย่างมีประสิทธิภาพ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลกะลุวอเหนือ ประจำปีงบประมาณ 2568

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ประชาชนมีความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรคไข้เลือดออก
  2. ประชาชนมีความตระหนัก และร่วมมือกันกำจัดลูกน้ำยุงลาย ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย ร่วมกันปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้สะอาดถูกสุขลักษณะ
  3. สามารถลดอัตราการเกิดโรคไข้เลือดออก

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. เพื่อให้ประชาชนมีความตระหนัก และมีความรอบรู้ทางสุขภาพประเด็นการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : 1. ประชาชนมีความรู้ทางสุขภาพ และมีความพึงพอใจต่อมาตรการควบคุมป้องกันโรค เพิ่มขึ้นร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมาย
0.00

 

2 2. เพื่อควบคุมและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และยุงตัวเต็มวัยที่เป็นพาหะนะของโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : 2. อัตราการพบลูกน้ำยุงลายในภาชนะรองรับน้ำในบ้าน (Container Index=0) และบริเวณบ้าน (House Index=o) และยุงตัวเต็มวัยที่เป็นพาหะของโรคไข้เลือดออกมีความชุกลดลง
0.00

 

3 3. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด : 3. มีการควบคุมโรคตามมาตรการ331 และพบหมู่บ้านที่มีการแพร่ระบาดโรคไข้เลือดออกภายใน 28 วัน (Second generation) ลดลง
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนมีความตระหนัก และมีความรอบรู้ทางสุขภาพประเด็นการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก (2) 2. เพื่อควบคุมและกำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย และยุงตัวเต็มวัยที่เป็นพาหะนะของโรคไข้เลือดออก (3) 3. เพื่อป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดของโรคไข้เลือดออกได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลกะลุวอเหนือ ประจำปีงบประมาณ 2568

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกตำบลกะลุวอเหนือ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 68-L2491-1-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด