กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการพัฒนาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคในกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2568 ”
โรงพยาบาส่งเสร้มสุขภาพ ตำบลตะเครียะ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวอาภรณ์ ไพศาล




ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคในกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ โรงพยาบาส่งเสร้มสุขภาพ ตำบลตะเครียะ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง L5220-06-68

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคในกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาส่งเสร้มสุขภาพ ตำบลตะเครียะ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะเครียะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคในกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคในกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาส่งเสร้มสุขภาพ ตำบลตะเครียะ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 51,800.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะเครียะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

กระทรวงสาธารณสุข เดินหน้าลตปัญหาโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ที่ทำให้เกิดความสูญเสียต้นทุนทุนทางเศรษฐกิจปีละ 1.6ล้านล้านบาท ปักหมุด 6 จุดทั่วไทย รณรงค์ "คนไทยห่างไกล NCDS" เริ่มต้นที่ภาคใต้ ส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรม สุขภาพ เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยรายใหม่ ลดความรุนแรงของการเจ็บป่วยในผู้ป่วยรายเก่า และช่วยลดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประชาชนและของประเทศคนไทยป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (Non-communicable disease : NCDs) เช่น เบาหวาน ความสูง โรคโตเรื้อรังเป็นจำนวนมาก และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มสูงขึ้นจากพฤติกรรมการใช้ชีวิต เช่น กินอาหารหวานจัด เต็มจัด ไม่อกกำลังกายดื่มแอลกอฮอล์ สูบบุหรี่ นอนดึก มีความเครียดสูง เป็นตัน ทำให้เกิดความสูญเสียต้นทุนทางเศรษฐกิจสูงถึงปีละ 1.6 ล้านล้านบาท จากค่ารักษาพยาบาลทางตรงและความสูญเสียทางอ้อม โดยข้อมูลปี 2560 ประเทศไทยเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาโรคNCD5 สูงกว่า 62,138 ล้านบาท และมีคนไทยต้องเสียชีวิตจากโรค NCDs ปีละกว่า 400,000 ราย กระทรวงสาธาธารณสุขมีนโยบายแก้ไขปัญหา โดยผลักดันการส่งเสริมสุขภาพและแนวคิดวิถีชีวิตเพื่อสุขภาพที่ดีไปสู่การปฏิบัติ พร้อมทั้งปรับปรุงกฎหมาย มาตรการต่างๆ ให้เอื้อในการต่อสู้กับโรค NCDs สนับสนุนแนวคิดสุขภาพดี สิทธิประโยชน์เพิ่ม รวมถึงส่งเสริมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมผ่านศูนย์คนไทยห่างไกล NCDs เพื่อลดอัตราการป่วยก่อนเข้าสู่ระบบการรักษาช่วยสร้างความรู้ความเข้าใจแก่ประชาชนในการปรับพฤติกรรม ทั้งการกินอาหารให้เหมาะสมกับการใช้พลังงาน ด้วยการนับอนนโยบายคนไทยห่างไกล NCDs ต้องอาศัยความร่วมแรงร่วมใจจากบุคลากรสาธารณสุขและคาร์บหรือคาร์โบไฮเดรตที่มาจากอาหารจำพวกแป้งและน้ำตาล รวมถึงมีการออกกำลังกาย อย่างสม่ำเสมอซึ่งจะช่วยลดายใหม่ ลดความรุนแรงของการเจ็บป่วยในผู้ป่วยรายเก่าและลดค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพของประชาชนได้ การขับเคลื่อนนโยบายคนไทยห่างไกล NCDs จะดำเนินการ 3 ส่วน ได้แก่ 1) สร้างระบบบริการด้านสุขภาพ โดย จัดตั้งศูนย์คนไทยห่างไกล NCDs พร้อมสร้างครู ก เป็นแกนหลัก เริ่มต้นอำเภอละจัดตั้ง NCDs Remission Clinic ในโรงพยาบาลทุกระดับ/รพ.สต. ทุกจังหวัด และสร้างทีมผู้นำต้านภัย NCD ระดับเขตในทุกจังหวัด ระดับอำเภอๆ ละ 1 ทีม และระดับ รพ.สต. ตำบล 2) ส่งเสริมความร่วมมือสหสาชาวิชาชีพ โดยพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการแพทย์และร่วมมือกับสหสาชาวิชาชีพในการดำเนินการ NCDS remission Clinic, พัฒนาคู่มือแนวทางการดำเนินงาน / ระบบรายงานข้อมูล 3) ให้ความรู้ อสม. เพื่อประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ประชาชน เชิญชวนกลุ่มเสี่ยงเข้าศูนย์คนไทยห่างไกล NCDs พร้อมทั้งเป็นพี่เลี้ยงและติดตามผลตำบลตะเครียะ มีผู้ป่วยโรคเบาหวาน จำนวน 305 ราย คิดเป็นร้อยละ 9.47 ของประชากร ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 652 ราย คิดเป็นร้อยละ 20.25 ของประชากร กลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานจำนวน 164 ราย คิดเป็นร้อยละ 5.09 ของประชากร กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงจำนวน 196 ราย คิดเป็นร้อยละ 6.09 ของประชากร ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ตำบลตะเครียะ ได้เห็นความสำคัญของปัญหา จึงได้จัดทำโครงการพัฒนาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคในกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง เพื่อให้กลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ได้รับการปรับเปลี่ยน พฤติกรรมที่ถูกต้อง เพื่อลดจำนวนกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง และผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ในอนาคต ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง มีความรู้ความเข้าใจและความสามารถดูแลสุขภาพตนเองได่้
  2. เพื่อให้ประชากรกลุ่มป่วยโรคเรื้อรัง มีความรู้และความสมารถดูแลสุขภาพของตนเอง ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนได้
  3. ลดการเกิดโรคเรื้อรังรายใหม่ในประชากรกลุ่มเสี่ยง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. สำรวจชื่อประชากรกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยในพื้นที่พร้อมทั้งคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการอบรม 2. จัดให้อบรมส่งเสริมความรู้กลุ่มเป้าหมายในการดูแลสุขภาพ โดยแยกเป็น 5 รุ่นๆ ละ 30 คน รุ่นละ 1 วัน

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ประซากรกลุ่มเสียงโรคเรื้อรังมีความรู้หารใจใจในการแลทุเพที่ถูกทั้งการารถามกาถะมาทของตนเองและคนในครอบครัว ได้ 2.ประชากรกลุ่มเสี่ยงสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเป็นกลุ่มปกติ ร้อยละ 80 3.ประชากรกลุ่มป่วยโรคเรื้อรังสามามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคุมระดับความตันโลหิตหรือระดับน้ำตาลและบันการเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ ร้อยละ80 4.ผู้ป่วยรายใหม่โรคเรื้อรังลดลง ร้อยละ 5


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง มีความรู้ความเข้าใจและความสามารถดูแลสุขภาพตนเองได่้
ตัวชี้วัด : ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง ร้อยละท 80
0.00

 

2 เพื่อให้ประชากรกลุ่มป่วยโรคเรื้อรัง มีความรู้และความสมารถดูแลสุขภาพของตนเอง ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนได้
ตัวชี้วัด : ประชากรกลุ่มป่วยโรคเรื้อรังสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคุมระดับความดันโลหิตหรือระดับน้ำตาลและป้องกันการเกิดภาวะแทรกว้อนได้ ร้อยละ 80
0.00

 

3 ลดการเกิดโรคเรื้อรังรายใหม่ในประชากรกลุ่มเสี่ยง
ตัวชี้วัด : ผู้ป่วยรายใหม่โรคเรื้อรัง ลดลง ร้อยละ 5
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 150
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 0
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 150
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] 0

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง มีความรู้ความเข้าใจและความสามารถดูแลสุขภาพตนเองได่้ (2) เพื่อให้ประชากรกลุ่มป่วยโรคเรื้อรัง มีความรู้และความสมารถดูแลสุขภาพของตนเอง ป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ (3) ลดการเกิดโรคเรื้อรังรายใหม่ในประชากรกลุ่มเสี่ยง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. สำรวจชื่อประชากรกลุ่มเสี่ยงและกลุ่มป่วยในพื้นที่พร้อมทั้งคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายเข้ารับการอบรม  2. จัดให้อบรมส่งเสริมความรู้กลุ่มเป้าหมายในการดูแลสุขภาพ โดยแยกเป็น 5 รุ่นๆ ละ 30 คน รุ่นละ 1 วัน

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคในกลุ่มป่วยและกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวอาภรณ์ ไพศาล )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด