เรียนดี มีความสุข สถานศึกษาปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพของโรงเรียนวัดแหลมดินสอ ปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ เรียนดี มีความสุข สถานศึกษาปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพของโรงเรียนวัดแหลมดินสอ ปี 2568 ”
ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางเพ็ญพักตร์ แก้วประดิษฐ์
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ เรียนดี มีความสุข สถานศึกษาปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพของโรงเรียนวัดแหลมดินสอ ปี 2568
ที่อยู่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3333-02-20 เลขที่ข้อตกลง 19/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"เรียนดี มีความสุข สถานศึกษาปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพของโรงเรียนวัดแหลมดินสอ ปี 2568 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
เรียนดี มีความสุข สถานศึกษาปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพของโรงเรียนวัดแหลมดินสอ ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " เรียนดี มีความสุข สถานศึกษาปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพของโรงเรียนวัดแหลมดินสอ ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-L3333-02-20 ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2540 ระบุว่า สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียน ศูนย์การเรียน วิทยาลัย สถาบันมหาวิทยาลัย หน่วยงานการศึกษาหรือหน่วยงานของรัฐหรือเอกชน มีหน้าที่หลักในการ พัฒนาคนให้มีความสมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม จิตวิญญาณ รวมถึงมีคุณธรรม จริยธรรมอันดี สามารถดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข นักเรียนในโรงเรียนอาจมีโอกาสสัมผัสโรคหรือแพร่เชื้อได้สูง เป้าหมายการพัฒนาดำเนินงานอนามัยโรงเรียนยังให้ความสำคัญกับเด็กที่มาอยู่รวมกันในสถานศึกษา ให้สามารถพัฒนาตนเองใน ทุก ๆ ด้าน ทั้งด้านสติปัญญา อารมณ์ จิตใจ ร่างกาย และการปรับตัวเข้ากับเพื่อน ๆ และสิ่งแวดล้อมใหม่ มีสิทธิ์ในการได้รับการบริการด้านสุขภาพเท่าเทียมกัน ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ด้านสุขภาพ สามารถนำไปปฏิบัติได้ถูกต้อง เป็นแบบอย่างที่ดีกับครอบครัว บุคคลใกล้เคียงตลอดจนป้องกันไม่ให้เป็นอุปสรรคต่อการเรียน และดูแลตนเองได้เมื่อเกิดอาการเจ็บป่วย
ซึ่งรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการได้ให้ความสำคัญในการส่งเสริม สนับสนุน ดูแล และให้ความช่วยเหลือทางด้านสุขภาพกายและจิตของนักเรียน นักศึกษา ครู และบุคลากร ด้วยกระบวนการเรียนรู้ที่เริ่มจากความสุข ทั้งผู้เรียน ผู้สอน และผู้ปกครอง จะส่งผลให้ผู้เรียนมีทักษะที่สมบูรณ์ ทั้งด้านวิชาการ วิชาชีพ และทักษะชีวิต โดยมีครูคอยเป็นที่ปรึกษา ให้คำแนะนำ ดูแลช่วยเหลือ แก้ไขปัญหา ค้นหาและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนให้สามารถบรรลุความสำเร็จในด้านต่าง ๆ ด้วยความสุข ความเข้าใจตนเอง พร้อมสุขภาพกายและจิตที่สมบูรณ์ และสามารถใช้ชีวิตได้อย่างปกติสุขในสังคม
ทางงานอนามัยโรงเรียนซึ่งมีหน้าที่เฝ้าระวังการเกิดปัญหาสุขภาพ และดูแลปฐมพยาบาลผู้เรียนในเบื้องต้น จึงได้กำหนดกิจกรรมต่างๆเพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพ และภาวะสุขภาพของตนเอง ด้วยการจัดกิจกรรมต่างๆ อาทิ การให้ความรู้ การตรวจสุขภาพ การดูแลภาวะโภชนาการ การประกันอุบัติเหตุ ฯลฯ เพื่อให้ผู้เรียนมีสุขภาพกายที่สมบูรณ์ อันจะนำไปสู่การพัฒนาด้านอื่นๆ ต่อไป
ดังนั้น จากเหตุผลความสำคัญ ดังกล่าวข้างต้น โรงเรียนวัดแหลมดินสอจึงจัดทำโครงการ เรียนดี มีความสุข สถานศึกษาปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ของโรงเรียนวัดแหลมดินสอ ประจำปีงบประมาณ 2568 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่อง“สถานศึกษาปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ”
- กิจกรรมจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ เพื่อใช้ในการเพาะเห็ด การปลูกพืชผักสวนครัว และการทำปุ๋ยหมัก
- จัดกิจกรรม การเพาะเห็ด และปลูกพืชผักสวนครัว บริเวณโรงเรียน เพื่อใช้สำหรับเป็นอาหารกลางวันของนักเรียน
- จัดกิจกรรมการทำปุ๋ยหมัก เพื่อใช้ในการบำรุงพืชผักสวนครัว
- ประเมินและสรุปผผลการดำเนินโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
58
กลุ่มวัยทำงาน
12
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้บริหาร คณะครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนได้รับความรู้ เรื่อง“สถานศึกษาปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ”
- ผู้บริหาร คณะครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนมีทักษะการเอาตัวรอดจากภัยพิบัติต่างๆที่มีกระทบต่อสุขภาพ
- นักเรียนได้รับประทานอาหารกลางวัน ด้วยผลผลิตจากเกษตรพอเพียงและมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงปราศจากสารเคมี ลดการเกิดภาวะทุพโภชนาการ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
70
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
58
กลุ่มวัยทำงาน
12
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่อง“สถานศึกษาปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ” (2) กิจกรรมจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ เพื่อใช้ในการเพาะเห็ด การปลูกพืชผักสวนครัว และการทำปุ๋ยหมัก (3) จัดกิจกรรม การเพาะเห็ด และปลูกพืชผักสวนครัว บริเวณโรงเรียน เพื่อใช้สำหรับเป็นอาหารกลางวันของนักเรียน (4) จัดกิจกรรมการทำปุ๋ยหมัก เพื่อใช้ในการบำรุงพืชผักสวนครัว (5) ประเมินและสรุปผผลการดำเนินโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
เรียนดี มีความสุข สถานศึกษาปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพของโรงเรียนวัดแหลมดินสอ ปี 2568 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3333-02-20
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางเพ็ญพักตร์ แก้วประดิษฐ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ เรียนดี มีความสุข สถานศึกษาปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพของโรงเรียนวัดแหลมดินสอ ปี 2568 ”
ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
หัวหน้าโครงการ
นางเพ็ญพักตร์ แก้วประดิษฐ์
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3333-02-20 เลขที่ข้อตกลง 19/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 11 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"เรียนดี มีความสุข สถานศึกษาปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพของโรงเรียนวัดแหลมดินสอ ปี 2568 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
เรียนดี มีความสุข สถานศึกษาปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพของโรงเรียนวัดแหลมดินสอ ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " เรียนดี มีความสุข สถานศึกษาปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพของโรงเรียนวัดแหลมดินสอ ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-L3333-02-20 ระยะเวลาการดำเนินงาน 11 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2540 ระบุว่า สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียน ศูนย์การเรียน วิทยาลัย สถาบันมหาวิทยาลัย หน่วยงานการศึกษาหรือหน่วยงานของรัฐหรือเอกชน มีหน้าที่หลักในการ พัฒนาคนให้มีความสมบูรณ์ทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ สังคม จิตวิญญาณ รวมถึงมีคุณธรรม จริยธรรมอันดี สามารถดำรงชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข นักเรียนในโรงเรียนอาจมีโอกาสสัมผัสโรคหรือแพร่เชื้อได้สูง เป้าหมายการพัฒนาดำเนินงานอนามัยโรงเรียนยังให้ความสำคัญกับเด็กที่มาอยู่รวมกันในสถานศึกษา ให้สามารถพัฒนาตนเองใน ทุก ๆ ด้าน ทั้งด้านสติปัญญา อารมณ์ จิตใจ ร่างกาย และการปรับตัวเข้ากับเพื่อน ๆ และสิ่งแวดล้อมใหม่ มีสิทธิ์ในการได้รับการบริการด้านสุขภาพเท่าเทียมกัน ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ด้านสุขภาพ สามารถนำไปปฏิบัติได้ถูกต้อง เป็นแบบอย่างที่ดีกับครอบครัว บุคคลใกล้เคียงตลอดจนป้องกันไม่ให้เป็นอุปสรรคต่อการเรียน และดูแลตนเองได้เมื่อเกิดอาการเจ็บป่วย
ซึ่งรัฐบาลและกระทรวงศึกษาธิการได้ให้ความสำคัญในการส่งเสริม สนับสนุน ดูแล และให้ความช่วยเหลือทางด้านสุขภาพกายและจิตของนักเรียน นักศึกษา ครู และบุคลากร ด้วยกระบวนการเรียนรู้ที่เริ่มจากความสุข ทั้งผู้เรียน ผู้สอน และผู้ปกครอง จะส่งผลให้ผู้เรียนมีทักษะที่สมบูรณ์ ทั้งด้านวิชาการ วิชาชีพ และทักษะชีวิต โดยมีครูคอยเป็นที่ปรึกษา ให้คำแนะนำ ดูแลช่วยเหลือ แก้ไขปัญหา ค้นหาและพัฒนาศักยภาพผู้เรียนให้สามารถบรรลุความสำเร็จในด้านต่าง ๆ ด้วยความสุข ความเข้าใจตนเอง พร้อมสุขภาพกายและจิตที่สมบูรณ์ และสามารถใช้ชีวิตได้อย่างปกติสุขในสังคม
ทางงานอนามัยโรงเรียนซึ่งมีหน้าที่เฝ้าระวังการเกิดปัญหาสุขภาพ และดูแลปฐมพยาบาลผู้เรียนในเบื้องต้น จึงได้กำหนดกิจกรรมต่างๆเพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสุขภาพ และภาวะสุขภาพของตนเอง ด้วยการจัดกิจกรรมต่างๆ อาทิ การให้ความรู้ การตรวจสุขภาพ การดูแลภาวะโภชนาการ การประกันอุบัติเหตุ ฯลฯ เพื่อให้ผู้เรียนมีสุขภาพกายที่สมบูรณ์ อันจะนำไปสู่การพัฒนาด้านอื่นๆ ต่อไป
ดังนั้น จากเหตุผลความสำคัญ ดังกล่าวข้างต้น โรงเรียนวัดแหลมดินสอจึงจัดทำโครงการ เรียนดี มีความสุข สถานศึกษาปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ ของโรงเรียนวัดแหลมดินสอ ประจำปีงบประมาณ 2568 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่อง“สถานศึกษาปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ”
- กิจกรรมจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ เพื่อใช้ในการเพาะเห็ด การปลูกพืชผักสวนครัว และการทำปุ๋ยหมัก
- จัดกิจกรรม การเพาะเห็ด และปลูกพืชผักสวนครัว บริเวณโรงเรียน เพื่อใช้สำหรับเป็นอาหารกลางวันของนักเรียน
- จัดกิจกรรมการทำปุ๋ยหมัก เพื่อใช้ในการบำรุงพืชผักสวนครัว
- ประเมินและสรุปผผลการดำเนินโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 58 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 12 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้บริหาร คณะครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนได้รับความรู้ เรื่อง“สถานศึกษาปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ”
- ผู้บริหาร คณะครู บุคลากรทางการศึกษาและนักเรียนมีทักษะการเอาตัวรอดจากภัยพิบัติต่างๆที่มีกระทบต่อสุขภาพ
- นักเรียนได้รับประทานอาหารกลางวัน ด้วยผลผลิตจากเกษตรพอเพียงและมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงปราศจากสารเคมี ลดการเกิดภาวะทุพโภชนาการ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย |
---|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 70 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 58 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 12 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้เรื่อง“สถานศึกษาปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพ” (2) กิจกรรมจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์ เพื่อใช้ในการเพาะเห็ด การปลูกพืชผักสวนครัว และการทำปุ๋ยหมัก (3) จัดกิจกรรม การเพาะเห็ด และปลูกพืชผักสวนครัว บริเวณโรงเรียน เพื่อใช้สำหรับเป็นอาหารกลางวันของนักเรียน (4) จัดกิจกรรมการทำปุ๋ยหมัก เพื่อใช้ในการบำรุงพืชผักสวนครัว (5) ประเมินและสรุปผผลการดำเนินโครงการ
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
เรียนดี มีความสุข สถานศึกษาปลอดภัย ใส่ใจสุขภาพของโรงเรียนวัดแหลมดินสอ ปี 2568 จังหวัด พัทลุง
รหัสโครงการ 68-L3333-02-20
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางเพ็ญพักตร์ แก้วประดิษฐ์ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......