กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเสริมสร้างความรู้ภูมิปัญญาชาวบ้านด้านการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก ”
ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นางภัทรศิรา ฐิติกรกิจ




ชื่อโครงการ โครงการเสริมสร้างความรู้ภูมิปัญญาชาวบ้านด้านการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก

ที่อยู่ ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 68-L1528-1-15 เลขที่ข้อตกลง 10/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมสร้างความรู้ภูมิปัญญาชาวบ้านด้านการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปูน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมสร้างความรู้ภูมิปัญญาชาวบ้านด้านการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเสริมสร้างความรู้ภูมิปัญญาชาวบ้านด้านการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาปูน อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1528-1-15 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,180.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาปูน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภูมิปัญญาไทย หมายถึง องค์ความรู้ ความสามารถ และทักษะของคนไทยอันเกิดจากการสั่งสมประสบการณ์ที่ผ่านกระบวนการเรียนรู้ เลือกสรรปรุงแต่ง พัฒนาและถ่ายทอดสืบต่อกันมา เพื่อใช้แก้ปัญหาและพัฒนาวิถีชีวิตของคนไทยให้สมดุลกับสภาพแวดล้อมและเหมาะสมกับยุคสมัย มีลักษณะเป็นองค์รวม และมีคุณค่าทางวัฒนธรรม ปี 2568 กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก มีกลยุทธ์ ๓ สร้าง ในการยกระดับภูมิปัญญาไทย คือ 1. สร้างความร่วมมือ 2. สร้างความเชื่อมั่น 3. สร้างมาตรฐานและยกระดับบริการ ยกระดับภูมิปัญญาไทย ส่งเสริมการใช้แพทย์แผนไทย และสมุนไพรทางการแพทย์         จากข้อมูลการดำเนินงานของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาปูน ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๗ พบมีผู้ป่วยอัมพฤกษ์-อัมพาต จำนวน 30 ราย และพบผู้ป่วยมารับบริการด้วยอาการปวดกล้ามเนื้อ จำนวน 354 คน การประคบสมุนไพรเป็นวิธีการรักษาโรคทางกล้ามเนื้อ และอัมพฤกษ์ อัมพาตอีกวิธีหนึ่ง ช่วยบรรเทาอาการปวดเคล็ดขัดยอกได้ และช่วยฟื้นฟูกล้ามเนื้อ นอกจากนั้นแล้ว ความร้อนจากลูกประคบจะช่วยกระตุ้นการไหลเวียนของโลหิต ช่วยให้ตัวยาซึมผ่าน ผิวหนังได้ดีขึ้น อีกทั้งกลิ่นจากน้ำมันหอมระเหยยังช่วยให้เกิดความสดชื่น รวมทั้งเป็นการลดการใช้ยาแผนปัจจุบันอีกด้วย           ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาปูน จึงได้เล็งเห็นความสำคัญของการสืบทอดภูมิปัญญาไทยและเพื่อให้ผู้ป่วยอัมพฤกษ์ อัมพาต และปวดกล้ามเนื้อ สามารถบรรเทาอาการปวดเคล็ดขัดยอกได้ จึงได้จัดทำโครงการเสริมสร้างความรู้ภูมิปัญญาชาวบ้านด้านการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกขึ้น เพื่อให้ประชาชนมีความรู้เรื่องภูมิปัญญาชาวบ้านด้านการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก และสามารถนำผลิตภัณฑ์ลูกประคบสมุนไพรแห้ง ไปใช้ในการบรรเทาอาการปวดเมื่อยของตนเองและผู้อื่นได้

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้เรื่อง ภูมิปัญญาชาวบ้านด้านการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก และมีความรู้เรื่อง ประโยชน์ ส่วนประกอบและวิธีการทำลูกประคบสมุนไพร
  2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายทำผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาชาวบ้าน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. 1. อบรมให้ความรู้เรื่อง ภูมิปัญญาชาวบ้านด้านการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก และและมีความรู้เรื่องประโยชน์ ส่วนประกอบและวิธีการทำลูกประคบสมุนไพร 2.กิจกรรมจัดทำผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาชาวบ้าน ได้แก่ ลูกประคบสมุนไพรแห้ง
  2. 1. อบรมให้ความรู้เรื่อง ภูมิปัญญาชาวบ้านด้านการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก และและมีความรู้เรื่องประโยชน์ ส่วนประกอบและวิธีการทำลูกประคบสมุนไพร 2.กิจกรรมจัดทำผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาชาวบ้าน ได้แก่ ลูกประคบสมุนไพรแห้ง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.กลุ่มเป้าหมายมีความรู้เรื่อง ภูมิปัญญาชาวบ้านด้านการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก และมีความรู้เรื่อง ประโยชน์ ส่วนประกอบและวิธีการทำลูกประคบสมุนไพร 2.กลุ่มเป้าหมายสามารถทำลูกประคบสมุนไพรแห้งได้ และสามารถนำไปใช้ในการบรรเทาอาการปวดเมื่อยของตนเองและผู้อื่นได้


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้เรื่อง ภูมิปัญญาชาวบ้านด้านการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก และมีความรู้เรื่อง ประโยชน์ ส่วนประกอบและวิธีการทำลูกประคบสมุนไพร
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ความเข้าใจเรื่องภูมิปัญญาชาวบ้านด้านการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก และมีความรู้เรื่อง ประโยชน์ ส่วนประกอบและวิธีการทำลูกประคบสมุนไพร

 

2 เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายทำผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาชาวบ้าน
ตัวชี้วัด : มีผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาชาวบ้าน จำนวน 1 อย่าง ได้แก่ ลูกประคบสมุนไพรแห้ง

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้เรื่อง ภูมิปัญญาชาวบ้านด้านการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก และมีความรู้เรื่อง ประโยชน์ ส่วนประกอบและวิธีการทำลูกประคบสมุนไพร (2) เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายทำผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาชาวบ้าน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. อบรมให้ความรู้เรื่อง ภูมิปัญญาชาวบ้านด้านการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก และและมีความรู้เรื่องประโยชน์ ส่วนประกอบและวิธีการทำลูกประคบสมุนไพร 2.กิจกรรมจัดทำผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาชาวบ้าน ได้แก่ ลูกประคบสมุนไพรแห้ง (2) 1. อบรมให้ความรู้เรื่อง ภูมิปัญญาชาวบ้านด้านการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก และและมีความรู้เรื่องประโยชน์ ส่วนประกอบและวิธีการทำลูกประคบสมุนไพร 2.กิจกรรมจัดทำผลิตภัณฑ์จากภูมิปัญญาชาวบ้าน ได้แก่ ลูกประคบสมุนไพรแห้ง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเสริมสร้างความรู้ภูมิปัญญาชาวบ้านด้านการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 68-L1528-1-15

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางภัทรศิรา ฐิติกรกิจ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด