กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

stars
1. รายละเอียดโครงการ
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพจิตและดูแลพฤติกรรมเพื่อความสุขในโรงเรียน
รหัสโครงการ 68-50115-02-06
ประเภทการสนับสนุน ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ โรงเรียนบ้านเปาะเจ๊ะเต็ง
วันที่อนุมัติ 21 มีนาคม 2568
ระยะเวลาดำเนินโครงการ 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568
กำหนดวันส่งรายงาน 30 กันยายน 2568
งบประมาณ 25,000.00 บาท
ผู้รับผิดชอบโครงการ นายสมโภช นิยมคง
พี่เลี้ยงโครงการ
พื้นที่ดำเนินการ ตำบลกาวะ อำเภอสุไหงปาดี จังหวัดนราธิวาส
ละติจูด-ลองจิจูด place
stars
2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
แผนงานสุขภาพจิต , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว
stars
3. งวดสำหรับการทำรายงาน
งวดวันที่งวดโครงการวันที่งวดรายงานงบประมาณ
(บาท)
จากวันที่ถึงวันที่จากวันที่ถึงวันที่
1 21 มี.ค. 2568 21 มี.ค. 2568 25,000.00
2 0.00
รวมงบประมาณ 25,000.00
stars
4. กลุ่มเป้าหมาย

(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 148 keyboard_arrow_down

กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน :

กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
stars
5. หลักการและเหตุผล/สถานการณ์
สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 การส่งเสริมให้นักเรียนมีภูมิคุ้มกันทางใจที่ดีรองรับสังคมออนไลน์
80.00
2 ร้อยละของเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) ที่มีภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตาย
2.00
3 ร้อยละของหน่วยงาน สถานประกอบการ ที่มีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต
2.00

ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล

ในปัจจุบันสถานการณ์ทางสังคมและเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วส่งผลกระทบต่อพฤติกรรม อารมณ์ และผลการเรียนของนักเรียนจำนวนไม่น้อย นักเรียนบางคนอาจมีปัญหาด้านพฤติกรรม เช่น ขาดวินัย ไม่เคารพกฎระเบียบของโรงเรียน หรือแสดงพฤติกรรมก้าวร้าว บางคนอาจมีปัญหาด้านอารมณ์ เช่น ความเครียด ความวิตกกังวล หรือปัญหาภายในครอบครัวที่ส่งผลต่อสภาพจิตใจ และบางคนอาจประสบปัญหาทางการเรียน เช่น คะแนนต่ำ ขาดความสนใจในการเรียน หรือมีปัญหาด้านการอ่าน การเขียน โรงเรียนบ้านเปาะเจ๊ะเต็งตระหนักถึงความสำคัญของการให้ความช่วยเหลือนักเรียนอย่างเหมาะสม เพื่อให้สามารถพัฒนาและปรับตัวได้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ ทั้งในด้านพฤติกรรม อารมณ์ และการเรียน การดำเนินโครงการดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหาในด้านต่าง ๆ จึงมีความจำเป็นและสำคัญอย่างยิ่ง โดยเน้นกระบวนการดูแลแบบองค์รวม (Holistic Approach) ผ่านการมีส่วนร่วมของครู ผู้ปกครอง ชุมชน และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อส่งเสริมให้นักเรียนสามารถพัฒนาศักยภาพของตนเอง แก้ไขปัญหาอย่างสร้างสรรค์ และดำเนินชีวิตในสังคมได้อย่างมีความสุข โครงการนี้สอดคล้องกับนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการและสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่มุ่งเน้นการจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง เพื่อพัฒนาเด็กให้มีความพร้อมทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา และจิตใจ

stars
6. วัตถุประสงค์/เป้าหมาย
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดปัญหาเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มหน่วยงาน สถานประกอบการ ที่มีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต

ร้อยละของหน่วยงาน สถานประกอบการ ที่มีกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพจิต

2.00 3.00
2 เพื่อลดภาวะภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตายเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป) ลง

ร้อยละของเด็กวัยเรียน(อายุ 6 ปีขึ้นไป)  ที่มีภาวะเครียดและเสี่ยงฆ่าตัวตาย

2.00 1.00
stars
7. การดำเนินงาน/กิจกรรม
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม กลุ่มเป้าหมาย
(คน)
งบกิจกรรม
(บาท)
ทำแล้ว
 
ใช้จ่ายแล้ว
(บาท)
วันที่ กิจกรรม 0 25,000.00 0 0.00
1 เม.ย. 68 - 30 ก.ย. 68 ดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหาพฤติกรรม อารมณ์ การเรียน 0 25,000.00 -

 

stars
8. ผลที่คาดว่าจะได้รับ
  1. บุคลากรสาธารณสุข/บุคลากรทางการศึกษา/ผู้ปกครอง/ผู้ดูแเด็ก/แกนนำชุมชน มีความรู้และทักษะในการดูแลช่วเหลือนักเรียนที่มีปัญหาพฤติกรรม-อารมณ์ ในชุมชนของตนเอง
  2. เกิดการบูรณาการการดำเนิดงานส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันปัญหาสุภาพจิตกลุ่มวัยเรียนในพื้นที่และสามารถติดตามดูแลช่วยเหลือนักเรียนที่มีปัญหาพฤติกรรม-อารมณ์ ในชุมชนของตนเอง
  3. เด็กกลุ่มวัยเรียนที่มีปัญหาพฤติกรรม-อารมณ์ ในชุมชนได้รับการดูแลช่วยเหลือเพื่อส่งเสริมสุภาพจิตและป้องกันปัญหาสุภาพจิตที่อาจจะเกิดขึ้นได้
stars
9. เอกสารประกอบโครงการ

โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 17 มี.ค. 2568 14:54 น.