กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการกายฟิต จิตดี ชีวีมีสุข ”
ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
ชมรมตลาดสดเทศบาลตำบลทุ่งยาว




ชื่อโครงการ โครงการกายฟิต จิตดี ชีวีมีสุข

ที่อยู่ ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 68-L8018-02-07 เลขที่ข้อตกลง 10/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการกายฟิต จิตดี ชีวีมีสุข จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งยาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการกายฟิต จิตดี ชีวีมีสุข



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการกายฟิต จิตดี ชีวีมีสุข " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งยาว อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L8018-02-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 7,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งยาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคเรื้อรังเป็นโรคที่ไม่สามารถรักษาให้หายได้ การรักษาเป็นเพียงแค่การประคับประคองไม่ให้โรคลุกลามขึ้น และผู้ป่วยต้องรับการรักษาต่อเนื่องเป็นเวลานาน หรือส่วนใหญ่ต้องรักษาไปตลอดชีวิต ซึ่งนอกจากจะบั่นทอนสุขภาพกายและสุขภาพจิตแล้ว ยังเป็นการสูญเสียทางเศรษฐกิจของตัวผู้ป่วยเอง และส่งผลถึงเศรษฐกิจของประเทศโดยรวมด้วย โรคเรื้อรังนั่นคือ พฤติกรรมในการดำเนินชีวิตประจำวันของบุคคลขาดความสมดุล เช่น การรับประทานอาหารไขมันสูง อาหารรสหวานจัดและเค็มจัด ไม่รับประทานผักและผลไม้ ไม่ออกกำลังกาย การใช้ชีวิตที่สะดวกสบายเกินไป และการใช้สารเสพติด เป็นต้น การดูแลตนเองทั้งร่างกาย และจิตใจ ด้วยวิถีใหม่ วิถีธรรม วิถีไทย วิถีเศรษฐกิจพอเพียง คือการดูแลตนเองให้มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรงบนพื้นฐานของชีวิตที่ดี การมีร่างกายที่แข็งแรงช่วยลดความเสี่ยงของโรคเรื้อรังและช่วยเพิ่มพลังงานในการทำงานและทำกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน การมีสุขภาพจิตที่ดีช่วยให้รับมือกับความเครียดได้อย่างมีประสิทธิภาพ ลดปัญหาทางอารมณ์ เช่น ความวิตกกังวล และภาวะซึมเศร้า ทำให้สามารถตัดสินใจได้ดีขึ้นและมีความสัมพันธ์ที่ดีขึ้นกับผู้อื่น การมีความสุขและคุณภาพชีวิตที่ดีช่วยให้เกิดความสมดุลในชีวิต ความสุขเป็นสิ่งสำคัญที่ช่วยให้ชีวิตมีคุณค่าและความหมายคนที่มีความสุขมักมีสุขภาพที่ดีขึ้นและมีอายุยืนยาว
ดังนั้น ชมรมตลาดสดเทศบาลตำบลทุ่งยาว จึงได้จัดทำ “โครงการกายฟิต จิตดี ชีวีมีสุข” เพื่อเป็นการสร้างสุขภาพดี ให้ประชาชนในชุมชนมีพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม กลุ่มเสี่ยงก็ไม่ป่วย กลุ่มป่วยก็สามารถดำรงชีวิตได้อย่างปกติ ไม่เกิดโรคแทรกซ้อนตามมา โดยอาศัยการดูแลตนเองทั้งร่างกาย และจิตใจ ด้วยวิถีใหม่ วิถีธรรม วิถีไทยวิถีเศรษฐกิจพอเพียง

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับประเมินค่า BMI ก่อนเข้าอบรม เพื่อบ่งบอกความเสี่ยงในการเกิดโรคต่าง ๆ
  2. ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพด้วยวิถีใหม่ วิถีธรรม วิถีไทย วิถีเศรษฐกิจพอเพียง
  3. มีทักษะและสามารถถ่ายทอด ในการนำไปปฏิบัติดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว และชุมชนด้วยหลักวิถีใหม่ วิถีธรรม วิถีไทย วิถีเศรษฐกิจพอเพียง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรม อบรมตามโครงการกายฟิต จิตดี ชีวีมีสุข
  2. ครั้งที่ 1
  3. ครั้งที่ 2

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้เข้าร่วมอบรมได้ประเมินค่า BMI ก่อนเข้าอบรม เพื่อบ่งบอกความเสี่ยงในการเกิดโรคต่าง ๆ
  2. ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพด้วยวิถีใหม่ วิถีธรรม วิถีไทย วิถีเศรษฐกิจพอเพียง
  3. ผู้เข้าร่วมอบรมมีทักษะและสามารถถ่ายทอดในการนำไปปฏิบัติดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว และชุมชนด้วยหลักวิถีใหม่ วิถีธรรม วิถีไทย วิถีเศรษฐกิจพอเพียง

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับประเมินค่า BMI ก่อนเข้าอบรม เพื่อบ่งบอกความเสี่ยงในการเกิดโรคต่าง ๆ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับประเมินค่า BMI ก่อนเข้าอบรม เพื่อบ่งบอกความเสี่ยงในการเกิดโรคต่าง ๆ

 

2 ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพด้วยวิถีใหม่ วิถีธรรม วิถีไทย วิถีเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพด้วยวิถีใหม่ วิถีธรรม วิถีไทย วิถีเศรษฐกิจพอเพียง

 

3 มีทักษะและสามารถถ่ายทอด ในการนำไปปฏิบัติดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว และชุมชนด้วยหลักวิถีใหม่ วิถีธรรม วิถีไทย วิถีเศรษฐกิจพอเพียง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ผู้เข้าร่วมอบรมมีทักษะและสามารถถ่ายทอดในการนำไปปฏิบัติดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว และชุมชนด้วยหลักวิถีใหม่ วิถีธรรม วิถีไทย วิถีเศรษฐกิจพอเพียง

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 30
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 30
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับประเมินค่า BMI ก่อนเข้าอบรม เพื่อบ่งบอกความเสี่ยงในการเกิดโรคต่าง ๆ (2) ผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพด้วยวิถีใหม่ วิถีธรรม วิถีไทย วิถีเศรษฐกิจพอเพียง (3) มีทักษะและสามารถถ่ายทอด ในการนำไปปฏิบัติดูแลสุขภาพตนเอง ครอบครัว และชุมชนด้วยหลักวิถีใหม่ วิถีธรรม วิถีไทย วิถีเศรษฐกิจพอเพียง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรม อบรมตามโครงการกายฟิต จิตดี ชีวีมีสุข (2) ครั้งที่ 1 (3) ครั้งที่ 2

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการกายฟิต จิตดี ชีวีมีสุข จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 68-L8018-02-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ชมรมตลาดสดเทศบาลตำบลทุ่งยาว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด