โครงการร้านขายของชำปลอดยาอันตราย ในชุมชน ปีงบประมาณ พ.ศ.2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการร้านขายของชำปลอดยาอันตราย ในชุมชน ปีงบประมาณ พ.ศ.2568 ”
ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเขาเพดาน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการร้านขายของชำปลอดยาอันตราย ในชุมชน ปีงบประมาณ พ.ศ.2568
ที่อยู่ ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1523-1-03 เลขที่ข้อตกลง 2/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการร้านขายของชำปลอดยาอันตราย ในชุมชน ปีงบประมาณ พ.ศ.2568 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการร้านขายของชำปลอดยาอันตราย ในชุมชน ปีงบประมาณ พ.ศ.2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการร้านขายของชำปลอดยาอันตราย ในชุมชน ปีงบประมาณ พ.ศ.2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1523-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,185.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาความไม่ปลอดภัยจากการใช้ยาในชุมชนเป็นปัญหาที่มีในประเทศไทยมาหลายปี ซึ่งเกิดจากปัจจัยที่เกี่ยวข้องหลายปัจจัย ได้แก่ ผู้ใช้ยา ผู้สั่งใช้ยา ผู้ผลิต การกระจายยา และการควบคุมกำกับตามกฎหมายยา ความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผล เป็นปัจจัยสำคัญของการมีพฤติกรรมต่อการใช้ยาที่ถูกต้อง เหมาะสม สาเหตุหลักที่ประชาชนใช้ยาไม่สมเหตุผล เนื่องจากสามารถหาซื้อยาที่ไม่เหมาะสมเองได้ง่าย จากร้านขายของชำภายในชุมชน ผ่านช่องทางออนไลน์ สื่อโฆษณาทางวิทยุ โทรทัศน์ และการแนะนำ บอกต่อ จากคนใกล้ตัว ฯลฯ ไม่ว่าจะเป็นการซื้อยาปฏิชีวนะ ยาแก้ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ยาชุด ผลิตภัณฑ์สมุนไพร ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่อวดอ้างสรรพคุณว่ารักษาโรคให้หายขาดได้ จึงส่งผลกระทบต่อสุขภาพของคนไทยและระบบสาธารณสุขมายาวนาน จากการทบทวนงานวิจัยในประเทศไทยที่เกี่ยวข้องพบว่าสาเหตุส่วนหนึ่งเกิดจากผู้ใช้ยาขาดความรู้ที่ถูกต้อง มีความเชื่อที่ผิดๆ และที่สำคัญมีแหล่งจำหน่ายยาที่ไม่เหมาะสมและผิดกฎหมายกระจายอยู่ทั่วไป ส่งผลให้เกิดการใช้ยาและการกระจายยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพไม่เหมาะสม ในขณะเดียวกันผู้จำหน่ายที่ขายยาให้กับประชาชน โดยไม่มีความรู้หรือผ่านการศึกษาอบรมด้านยามาก่อน ย่อมไม่ทราบถึงผลเสียที่จะเกิดขึ้นต่อสุขภาพหรือผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น ผลการสำรวจร้านค้าปลีกในระดับตำบลภายใต้โครงการส่งเสริมการใช้ยาปลอดภัยในชุมชนของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ในปี 2560 จำนวน 4,128 ร้าน (23 จังหวัด) และปี 2561 จำนวน 887 ร้าน (28 จังหวัด) พบว่าร้านค้าปลีกจำนวนมากขาย "ยาอันตราย" เช่น ยาปฏิชีวนะ รวมทั้งสเตียรอยด์ที่เป็น "ยาควบคุมพิเศษ" ทั้งที่ตามกฎหมายยาแล้ว "ยาอันตราย" และ "ยาควบคุมพิเศษ" ต้องจำหน่ายในร้านขายยาที่มีเภสัชกรประจำเท่านั้น ในร้านค้าปลีกเหล่านี้พบผลิตภัณฑ์ที่มีความเสี่ยงต่อการปนเปื้อนสารสเตียรอยด์ เช่น ยาแผนโบราณ ยาสมุนไพร ซึ่งมีหลากหลายรูปแบบ ได้แก่ ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาน้ำ ยาต้ม ยาหม้อ ยากษัยเส้น ยาประดง สอดคล้องกับผลการสำรวจยาในครัวเรือนที่ดำเนินการโดยบุคลากรด้านสาธารณสุขในพื้นที่ในปี 25๖0-256๒ พบว่าการใช้ยาในครัวเรือน ๖2 จังหวัด จำนวน 22,๘30 ครัวเรือนพบยาปฏิชีวนะเหลือใช้ในครัวเรือน ประมาณร้อยละ 10 โดยสองอันดับแรกที่พบมากที่สุด คือ amoxicillin และ tetracycline แหล่งที่ได้รับยาปฏิชีวนะสูงสุด 3 อันดับแรก คือ สถานพยาบาลภาครัฐ (โรงพยาบาลของรัฐ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล) โดยได้สำรวจข้อมูลในพื้นที่ตาม โครงการ “ยามตู้ยา” ประจำปี ๒๕๖๓ ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง พบว่า ในร้านขายของชำจำนวน ๒๒ ร้าน มีจำนวน ๑๐ ร้าน คิดเป็นร้อยละ ๔๕.๔๕ ที่มีการจำหน่ายยาปฏิชีวนะ ยาสเตียรอยด์ (ยาเดี่ยวและยาชุด) ยาแก้ปวด NSAIDs และยาแผนปัจจุบันบรรจุเสร็จ ให้แก่คนในชุมชน โดยกลุ่มยาที่พบการจำหน่ายสูงสุด คือ ยาแผนปัจจุบันบรรจุเสร็จ คิดเป็นร้อยละ ๘6.๓๖ ยาปฏิชีวนะ คิดเป็นร้อยละ 4๕.๔๕ ยาแก้ปวด NSAIDs คิดเป็นร้อยละ 2๒.๗๓ ยาสเตียรอยด์ (ยาเดี่ยวและยาชุด) คิดเป็นร้อยละ ๑๓.๖๔ ตามลำดับ และจากการสอบถามผู้ประกอบการเกี่ยวกับพิษภัยของยา ปรากฏว่าไม่มีความรู้และไม่ทราบถึงผลข้างเคียงที่ตามมา คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ และพบยาหมดอายุ จำนวน ๓ รายการ
จากสถานการณ์การสำรวจข้อมูลร้านขายของชำในพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเขาเพดาน มีจำนวน 21 ร้าน ดังนี้ ม.1 บ้านห้วยไทร จำนวน 6 ร้าน ม.2 บ้านเขาแก้ว จำนวน 10 ร้าน และ ม.7 บ้านเขาเพดาน จำนวน 5 ร้าน ซึ่งยังไม่เคยผ่านการประเมินร้านขายของชำคุณภาพ ประเภทการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (G-RDU) มาก่อนนั้น
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเขาเพดาน จึงได้เล็งเห็นความสำคัญในการดำเนินการเชิงรุก ในชุมชนเพื่อเสริมสร้างศักยภาพของผู้ประกอบการร้านขายของชำในการเลือกจำหน่ายยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ รวมถึงประชาชนให้มีทักษะในการคุ้มครองตนเองและครอบครัวในการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในชุมชนและมีร้านขายของชำต้นแบบปลอดยาอันตรายในชุมชน เพื่อคุ้มครองผู้บริโภคให้ปลอดภัยและมีคุณภาพชีวิตที่ดี จึงได้จัดทำ “โครงการร้านขายของชำปลอดยาอันตราย ในชุมชน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2568” ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อสร้างความรู้และความตระหนักในการเลือกซื้อและจำหน่ายยาหรือผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างถูกต้องเหมาะสม ให้แก่ ผู้ประกอบการร้านขายของชำในชุมชน ภาคีเครือข่าย ,และ ประชาชน 2.เพื่อส่งเสริมให้ร้านขายของชำในพื้นที่ ไม่มีการจำหน่ายยาอันตราย เช่น ยาปฏิชีวนะ ยาสเตียรอยด์ และยาชุด 3.เพื่อพัฒนาให้เกิดภาคีเครือข่ายในชุมชนและมีร้านขายของชำต้นแบบปลอดยาอันตรายในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ภาคีเครือข่ายชุมชนและผู้ประกอบการร้านขายของชำ และแกนนำประชาชน มีความรู้ความตระหนักในการจำหน่ายและเลือกซื้อยาหรือผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างถูกต้องเหมาะสม และสามารถให้ความรู้หรือบอกต่อแก่คนในชุมชนได้ เพื่อลดปัญหาการใช้ยาปฎิชีวนะ ยาชุด และยาสเตียรอยด์ โดยไม่จำป็น
2.ร้านขายของชำในพื้นที่กลุ่มเป้าหมายไม่มีการจำหน่ายยาอันตราย เช่น ยาปฏิชีวนะ ยาสเตียรอยด์ และยาชุด
3.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจอยู่ในเกณฑ์การประเมินระดับดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อสร้างความรู้และความตระหนักในการเลือกซื้อและจำหน่ายยาหรือผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างถูกต้องเหมาะสม ให้แก่ ผู้ประกอบการร้านขายของชำในชุมชน ภาคีเครือข่าย ,และ ประชาชน 2.เพื่อส่งเสริมให้ร้านขายของชำในพื้นที่ ไม่มีการจำหน่ายยาอันตราย เช่น ยาปฏิชีวนะ ยาสเตียรอยด์ และยาชุด 3.เพื่อพัฒนาให้เกิดภาคีเครือข่ายในชุมชนและมีร้านขายของชำต้นแบบปลอดยาอันตรายในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของผู้ประกอบการร้านขายของชำ ภาคีเครือข่ายและประชาชน ให้มีความรู้ความตระหนักในการจำหน่ายและเลือกซื้อยาหรือผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างถูกต้องเหมาะสม โดยเฉพาะยาปฏิชีวนะ ยาสเตียรอยด์ และยาชุด
2.ร้อยละ 100 ของร้านขายของชำในพื้นที่เป้าหมายไม่มีการจำหน่ายยาอันตราย เช่น ยาปฏิชีวนะ ยาสเตียรอยด์ และยาชุด
3.ร้อยละ 100 เกิดภาคีเครือข่ายในชุมชนและร้านขายของชำต้นแบบปลอดยาอันตรายในชุมชน
1.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อสร้างความรู้และความตระหนักในการเลือกซื้อและจำหน่ายยาหรือผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างถูกต้องเหมาะสม ให้แก่ ผู้ประกอบการร้านขายของชำในชุมชน ภาคีเครือข่าย ,และ ประชาชน 2.เพื่อส่งเสริมให้ร้านขายของชำในพื้นที่ ไม่มีการจำหน่ายยาอันตราย เช่น ยาปฏิชีวนะ ยาสเตียรอยด์ และยาชุด 3.เพื่อพัฒนาให้เกิดภาคีเครือข่ายในชุมชนและมีร้านขายของชำต้นแบบปลอดยาอันตรายในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการร้านขายของชำปลอดยาอันตราย ในชุมชน ปีงบประมาณ พ.ศ.2568 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1523-1-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเขาเพดาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการร้านขายของชำปลอดยาอันตราย ในชุมชน ปีงบประมาณ พ.ศ.2568 ”
ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเขาเพดาน
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1523-1-03 เลขที่ข้อตกลง 2/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการร้านขายของชำปลอดยาอันตราย ในชุมชน ปีงบประมาณ พ.ศ.2568 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการร้านขายของชำปลอดยาอันตราย ในชุมชน ปีงบประมาณ พ.ศ.2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการร้านขายของชำปลอดยาอันตราย ในชุมชน ปีงบประมาณ พ.ศ.2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1523-1-03 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,185.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัญหาความไม่ปลอดภัยจากการใช้ยาในชุมชนเป็นปัญหาที่มีในประเทศไทยมาหลายปี ซึ่งเกิดจากปัจจัยที่เกี่ยวข้องหลายปัจจัย ได้แก่ ผู้ใช้ยา ผู้สั่งใช้ยา ผู้ผลิต การกระจายยา และการควบคุมกำกับตามกฎหมายยา ความรอบรู้ด้านการใช้ยาอย่างสมเหตุผล เป็นปัจจัยสำคัญของการมีพฤติกรรมต่อการใช้ยาที่ถูกต้อง เหมาะสม สาเหตุหลักที่ประชาชนใช้ยาไม่สมเหตุผล เนื่องจากสามารถหาซื้อยาที่ไม่เหมาะสมเองได้ง่าย จากร้านขายของชำภายในชุมชน ผ่านช่องทางออนไลน์ สื่อโฆษณาทางวิทยุ โทรทัศน์ และการแนะนำ บอกต่อ จากคนใกล้ตัว ฯลฯ ไม่ว่าจะเป็นการซื้อยาปฏิชีวนะ ยาแก้ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ ยาชุด ผลิตภัณฑ์สมุนไพร ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารที่อวดอ้างสรรพคุณว่ารักษาโรคให้หายขาดได้ จึงส่งผลกระทบต่อสุขภาพของคนไทยและระบบสาธารณสุขมายาวนาน จากการทบทวนงานวิจัยในประเทศไทยที่เกี่ยวข้องพบว่าสาเหตุส่วนหนึ่งเกิดจากผู้ใช้ยาขาดความรู้ที่ถูกต้อง มีความเชื่อที่ผิดๆ และที่สำคัญมีแหล่งจำหน่ายยาที่ไม่เหมาะสมและผิดกฎหมายกระจายอยู่ทั่วไป ส่งผลให้เกิดการใช้ยาและการกระจายยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพไม่เหมาะสม ในขณะเดียวกันผู้จำหน่ายที่ขายยาให้กับประชาชน โดยไม่มีความรู้หรือผ่านการศึกษาอบรมด้านยามาก่อน ย่อมไม่ทราบถึงผลเสียที่จะเกิดขึ้นต่อสุขภาพหรือผลกระทบที่อาจจะเกิดขึ้น ผลการสำรวจร้านค้าปลีกในระดับตำบลภายใต้โครงการส่งเสริมการใช้ยาปลอดภัยในชุมชนของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ในปี 2560 จำนวน 4,128 ร้าน (23 จังหวัด) และปี 2561 จำนวน 887 ร้าน (28 จังหวัด) พบว่าร้านค้าปลีกจำนวนมากขาย "ยาอันตราย" เช่น ยาปฏิชีวนะ รวมทั้งสเตียรอยด์ที่เป็น "ยาควบคุมพิเศษ" ทั้งที่ตามกฎหมายยาแล้ว "ยาอันตราย" และ "ยาควบคุมพิเศษ" ต้องจำหน่ายในร้านขายยาที่มีเภสัชกรประจำเท่านั้น ในร้านค้าปลีกเหล่านี้พบผลิตภัณฑ์ที่มีความเสี่ยงต่อการปนเปื้อนสารสเตียรอยด์ เช่น ยาแผนโบราณ ยาสมุนไพร ซึ่งมีหลากหลายรูปแบบ ได้แก่ ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาน้ำ ยาต้ม ยาหม้อ ยากษัยเส้น ยาประดง สอดคล้องกับผลการสำรวจยาในครัวเรือนที่ดำเนินการโดยบุคลากรด้านสาธารณสุขในพื้นที่ในปี 25๖0-256๒ พบว่าการใช้ยาในครัวเรือน ๖2 จังหวัด จำนวน 22,๘30 ครัวเรือนพบยาปฏิชีวนะเหลือใช้ในครัวเรือน ประมาณร้อยละ 10 โดยสองอันดับแรกที่พบมากที่สุด คือ amoxicillin และ tetracycline แหล่งที่ได้รับยาปฏิชีวนะสูงสุด 3 อันดับแรก คือ สถานพยาบาลภาครัฐ (โรงพยาบาลของรัฐ และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล) โดยได้สำรวจข้อมูลในพื้นที่ตาม โครงการ “ยามตู้ยา” ประจำปี ๒๕๖๓ ตำบลเขาไพร อำเภอรัษฎา จังหวัดตรัง พบว่า ในร้านขายของชำจำนวน ๒๒ ร้าน มีจำนวน ๑๐ ร้าน คิดเป็นร้อยละ ๔๕.๔๕ ที่มีการจำหน่ายยาปฏิชีวนะ ยาสเตียรอยด์ (ยาเดี่ยวและยาชุด) ยาแก้ปวด NSAIDs และยาแผนปัจจุบันบรรจุเสร็จ ให้แก่คนในชุมชน โดยกลุ่มยาที่พบการจำหน่ายสูงสุด คือ ยาแผนปัจจุบันบรรจุเสร็จ คิดเป็นร้อยละ ๘6.๓๖ ยาปฏิชีวนะ คิดเป็นร้อยละ 4๕.๔๕ ยาแก้ปวด NSAIDs คิดเป็นร้อยละ 2๒.๗๓ ยาสเตียรอยด์ (ยาเดี่ยวและยาชุด) คิดเป็นร้อยละ ๑๓.๖๔ ตามลำดับ และจากการสอบถามผู้ประกอบการเกี่ยวกับพิษภัยของยา ปรากฏว่าไม่มีความรู้และไม่ทราบถึงผลข้างเคียงที่ตามมา คิดเป็นร้อยละ ๑๐๐ และพบยาหมดอายุ จำนวน ๓ รายการ
จากสถานการณ์การสำรวจข้อมูลร้านขายของชำในพื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเขาเพดาน มีจำนวน 21 ร้าน ดังนี้ ม.1 บ้านห้วยไทร จำนวน 6 ร้าน ม.2 บ้านเขาแก้ว จำนวน 10 ร้าน และ ม.7 บ้านเขาเพดาน จำนวน 5 ร้าน ซึ่งยังไม่เคยผ่านการประเมินร้านขายของชำคุณภาพ ประเภทการใช้ยาอย่างสมเหตุผล (G-RDU) มาก่อนนั้น
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเขาเพดาน จึงได้เล็งเห็นความสำคัญในการดำเนินการเชิงรุก ในชุมชนเพื่อเสริมสร้างศักยภาพของผู้ประกอบการร้านขายของชำในการเลือกจำหน่ายยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพ รวมถึงประชาชนให้มีทักษะในการคุ้มครองตนเองและครอบครัวในการใช้ยาอย่างสมเหตุผลในชุมชนและมีร้านขายของชำต้นแบบปลอดยาอันตรายในชุมชน เพื่อคุ้มครองผู้บริโภคให้ปลอดภัยและมีคุณภาพชีวิตที่ดี จึงได้จัดทำ “โครงการร้านขายของชำปลอดยาอันตราย ในชุมชน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2568” ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อสร้างความรู้และความตระหนักในการเลือกซื้อและจำหน่ายยาหรือผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างถูกต้องเหมาะสม ให้แก่ ผู้ประกอบการร้านขายของชำในชุมชน ภาคีเครือข่าย ,และ ประชาชน 2.เพื่อส่งเสริมให้ร้านขายของชำในพื้นที่ ไม่มีการจำหน่ายยาอันตราย เช่น ยาปฏิชีวนะ ยาสเตียรอยด์ และยาชุด 3.เพื่อพัฒนาให้เกิดภาคีเครือข่ายในชุมชนและมีร้านขายของชำต้นแบบปลอดยาอันตรายในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ภาคีเครือข่ายชุมชนและผู้ประกอบการร้านขายของชำ และแกนนำประชาชน มีความรู้ความตระหนักในการจำหน่ายและเลือกซื้อยาหรือผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างถูกต้องเหมาะสม และสามารถให้ความรู้หรือบอกต่อแก่คนในชุมชนได้ เพื่อลดปัญหาการใช้ยาปฎิชีวนะ ยาชุด และยาสเตียรอยด์ โดยไม่จำป็น 2.ร้านขายของชำในพื้นที่กลุ่มเป้าหมายไม่มีการจำหน่ายยาอันตราย เช่น ยาปฏิชีวนะ ยาสเตียรอยด์ และยาชุด 3.ผู้เข้าร่วมโครงการมีความพึงพอใจอยู่ในเกณฑ์การประเมินระดับดี
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อสร้างความรู้และความตระหนักในการเลือกซื้อและจำหน่ายยาหรือผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างถูกต้องเหมาะสม ให้แก่ ผู้ประกอบการร้านขายของชำในชุมชน ภาคีเครือข่าย ,และ ประชาชน 2.เพื่อส่งเสริมให้ร้านขายของชำในพื้นที่ ไม่มีการจำหน่ายยาอันตราย เช่น ยาปฏิชีวนะ ยาสเตียรอยด์ และยาชุด 3.เพื่อพัฒนาให้เกิดภาคีเครือข่ายในชุมชนและมีร้านขายของชำต้นแบบปลอดยาอันตรายในชุมชน ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 80 ของผู้ประกอบการร้านขายของชำ ภาคีเครือข่ายและประชาชน ให้มีความรู้ความตระหนักในการจำหน่ายและเลือกซื้อยาหรือผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างถูกต้องเหมาะสม โดยเฉพาะยาปฏิชีวนะ ยาสเตียรอยด์ และยาชุด 2.ร้อยละ 100 ของร้านขายของชำในพื้นที่เป้าหมายไม่มีการจำหน่ายยาอันตราย เช่น ยาปฏิชีวนะ ยาสเตียรอยด์ และยาชุด 3.ร้อยละ 100 เกิดภาคีเครือข่ายในชุมชนและร้านขายของชำต้นแบบปลอดยาอันตรายในชุมชน |
1.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อสร้างความรู้และความตระหนักในการเลือกซื้อและจำหน่ายยาหรือผลิตภัณฑ์สุขภาพอย่างถูกต้องเหมาะสม ให้แก่ ผู้ประกอบการร้านขายของชำในชุมชน ภาคีเครือข่าย ,และ ประชาชน 2.เพื่อส่งเสริมให้ร้านขายของชำในพื้นที่ ไม่มีการจำหน่ายยาอันตราย เช่น ยาปฏิชีวนะ ยาสเตียรอยด์ และยาชุด 3.เพื่อพัฒนาให้เกิดภาคีเครือข่ายในชุมชนและมีร้านขายของชำต้นแบบปลอดยาอันตรายในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการร้านขายของชำปลอดยาอันตราย ในชุมชน ปีงบประมาณ พ.ศ.2568 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1523-1-03
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเขาเพดาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......