กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการลดพุง ลดเสี่ยง ลดโรค ประจำปี 2568 (ประเภทที่ 2) ”
ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นายภูดิศ สมัยอุดม




ชื่อโครงการ โครงการลดพุง ลดเสี่ยง ลดโรค ประจำปี 2568 (ประเภทที่ 2)

ที่อยู่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L7884-2-19 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 30 เมษายน 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการลดพุง ลดเสี่ยง ลดโรค ประจำปี 2568 (ประเภทที่ 2) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการลดพุง ลดเสี่ยง ลดโรค ประจำปี 2568 (ประเภทที่ 2)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการลดพุง ลดเสี่ยง ลดโรค ประจำปี 2568 (ประเภทที่ 2) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L7884-2-19 ระยะเวลาการดำเนินงาน 30 เมษายน 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 36,955.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การศึกษาของมูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย พบว่าผู้สูงอายุที่มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ 5 กิจกรรม ได้แก่ 1. ออกกำลังกาย 2. รับประทานผักสดและผลไม้ 3. ดื่มน้ำสะอาดวันละ 8 แก้วหรือมากกว่า 4. ไม่ดื่มสุราหรือเครื่องดื่มเอลกอฮอล์ และ 5. สูบบุหรี่ มีเพียงร้อยละ 18.7 เท่านั้น ทั้งนี้การออกกำลังกายสม่ำเสมอเป็นพฤติกรรมที่พบต่ำที่สุด ผู้สูงอายุเจ็บป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 31.7 โรคเบาหวานร้อยละ 13.3 โรคหัวใจร้อยละ 7.0 โรคหลอดเลือดในสมองตีบร้อยละ 1.6 อัมพาต/อัมพฤกษ์ ร้อยละ 2.5 และโรคมะเร็งร้อยละ 0.5 ผู้สูงอายุที่มีภาวะทุพพลภาพ (มีข้อจำกัดในการทำกิจวัตรประจำวันด้วยตนเอง) ประมาณร้อยละ 15 ของผู้สุงอายุ การออกกำลังกายและเคลื่อนไหวร่างกายมากขึ้นในชีวิตประจำวันอย่างน้อย 150 นาที ต่อสัปดาห์หรือวันละ 30 นาที 5 วันต่อสัปดาห์ จะช่วยลดเสี่ยงต่อการเกิดและเสียชีวิตด้วยโรคหัวใจและหลอดเลือด นอกจากนั้นยังทำให้กล้ามเนื้อขาแขนแข็งแรง ทำให้สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ดีขึ้น และลดการหกล้ม พรบ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 เป็นกรอบและแนวทางการกำหนดนโยบายยุทศาสต์และการดำเนินงานด้านสุบภาพของประเทศ สุขภาพตามนัยยะของ พรบ.สุขภาพแห่งชาติ หมายถึง ภาวะของมนุษย์ที่สมบูรณ์ทั้งทางกาย ทางจิต ทางปัญญา และทางสังคม เชื่อมโยงเป็นองค์รวมอย่างสมดุล สุขภาพจึงเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับทุกคน ในทุกๆวัน ส่งผลอย่างสำคัญต่อคุณภาพของประชาชนในชาติ สุขภาพจึงเป็นความมั่นคงของชาติ เป้าหมายระบบสุขภาพชุมชนมีกลุ่มวัยทำงานและกลุ่มผู้สูงอายุจำนวนมากที่ประสบปัญหาความเครียด อันเนื่องมาจากภาวะเศรษกิจในปัจจุบัน สถานการณ์การระบาดของโควิด 19 ในช่วงที่ผ่านมา ทำให้ประชาชนมีพฤติกรรมการออกำลังกายที่ลดน้อยลง การรับประทานอาหารที่มีไขมันสูง
  จากข้อมูลการคัดกรองสุขภาพประชาชนที่มีอายุมากกว่า 35 ปี ในชุมชนมัสยิดกลางปัตตานี ปีงบประมาณ 2567 โดยใช้แบบคัดกรองความเสี่ยงในกลุ่มภาวะโรคเมตาบอลิก (เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคอ้วน) จำนวน 158 คน พบว่า ประชาชนในชุมชนมัสยิดกลางไม่ค่อยออกกำลังกาย จำนวน 57 คน ชอบรับประทานอาหารที่มีรสมัน เค็ม และหวาน จำนวน 71 คน มีค่าดัชนีมวยกายมากกว่า 23 (เกินเกณฑ์ ) จำนวน 106 คน และมีรอบเอวเกินจำนวน 82 คน มีความดันโลหิตสูงเกินเกณ์ จำนวน 53 คน มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงเกินเกณฑ์ จำนวน 17 คน จากข้อมูลดังกล่าว ถือเป็นความเสี่ยงที่จะทำให้เกิดดรคไม่ติดต่อเรื้อรังต่างๆ ได้แก่ โรคเบาหวาน ความดันดลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง เป็นต้น คณะกรรมการชุมชนมัสยิดกลางปัตตานีตระหนักถึงนโยบายด้านส่งเสริมสุขภาพ และเพื่อเป็นการส่งเสริมสุขภาพประชาชนในชุมชน จึงได้จัดทำโครงการลดพุง ลดเสี่ยง ลดโรค ประจำปี 2568 ขึ้น เพื่อสงเสริมสุขภาพอนามัยของประชาชนในชุมชนมัสยิดกลางปัตตานี ทำให้มีกิจกรรมด้านสุขภาพอย่างต่อเนื่อง และส่งเสริมมีส่วนร่วมในกิจกีีมสร้างสุขภาพของชุมชน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อให้ประชาชนเข้าร่วมกิจกรรมมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม 2. เพื่อให้เกิดบุคคลต้นแบบด้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรค NCD มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติตัวและมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
    2. ประชาชนกลุ่มเสี่ยงสูงได้รับการส่งต่อและดูแลรักษาที่เหมาะสม

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อให้ประชาชนเข้าร่วมกิจกรรมมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม 2. เพื่อให้เกิดบุคคลต้นแบบด้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
    ตัวชี้วัด : 1. มีผู้เข้าร่วมโครงการมีน้ำหนักตัวลดลง/รอบเอวลดลง ร้อยละ 20 (6 คน) 2. มีผู้เข้าร่วมโครงการที่น้ำหนักตัวลดลง รอบเอวลดลง ระดับน้ำตาลในเลือดละระดับความดันโลหิตอยู่ในเกณฑ์ปกติ ร้อยละ 10 (3 คน)

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ประชาชนเข้าร่วมกิจกรรมมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่เหมาะสม 2. เพื่อให้เกิดบุคคลต้นแบบด้านปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการลดพุง ลดเสี่ยง ลดโรค ประจำปี 2568 (ประเภทที่ 2) จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 68-L7884-2-19

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายภูดิศ สมัยอุดม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด