โครงการ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ปี 2568 ภายใต้ “ไม่ลืม ไม่ล้ม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย”
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ปี 2568 ภายใต้ “ไม่ลืม ไม่ล้ม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย” ”
ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริทสุขภาพตำบลบ้านเขาเพดาน
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ปี 2568 ภายใต้ “ไม่ลืม ไม่ล้ม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย”
ที่อยู่ ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1523-1-05 เลขที่ข้อตกลง 4/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ปี 2568 ภายใต้ “ไม่ลืม ไม่ล้ม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย” จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ปี 2568 ภายใต้ “ไม่ลืม ไม่ล้ม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย”
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ปี 2568 ภายใต้ “ไม่ลืม ไม่ล้ม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย” " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1523-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,280.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปี 2564 ประเทศไทยเข้าสู่ “สังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์”หรือที่เรียกว่า Completeaged society ซึ่งจะมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป มากกว่า 20% ของประชากรทั้งประเทศ หรือมีประชากรอายุ 65 ปีขึ้นไป มากกว่า 14 % ของประชากรทั้งประเทศ เนื่องจากจำนวนประชากรการเกิดลดลง และเทคโนโลยีทางด้านการแพทย์มีการพัฒนามากขึ้น ทำให้สังคมผู้สูงอายุมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นด้วย จากข้อมูลองค์การอนามัยโลก พบว่า ผู้สูงอายุร้อยละ 95 มีความเจ็บป่วยด้วยโรคและมีปัญหาสุขภาพ มีเพียงร้อยละ 5 เท่านั้น ที่มีสุขภาพแข็งแรง โดยมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์เพียงร้อยละ 46 ความเสื่อมของวัยผู้สูงอายุ จะทำให้มีภาวะเปราะบางซึ่งที่พบบ่อย ได้แก่ หกล้ม หลงลืม ซึมเศร้า ประสิทธิภาพบดเคี้ยวลดลง ไม่สามารถเลือกอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการและต้องพึ่งพาบุคคลอื่น การที่ผู้สูงอายุจะช่วยเหลือตนเองให้ได้มากและนานที่สุดบนความเสื่อมตามธรรมชาติ ของวัยที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ จำเป็นจะต้องได้รับการส่งเสริม ให้มีความรอบรู้เกี่ยวกับสุขภาพที่เพียงพอและหันมาดูแลตนเองให้มีสุขภาพร่างกาย สุขภาพใจให้แข็งแรงอยู่เสมอ เพื่อไม่เป็นภาระลูกหลานและสังคม
ในเขตรับผิดขอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเขาเพดาน มีผู้สูงอายุในปี 2568ทั้งหมด 373 คน แยกประเภทตามสภาวะพึ่งพิงทางสุขภาพได้ ดังนี้ ผู้สูงอายุติดสังคม 205 คน ผู้สูงอายุติดบ้าน 150 คน ผู้สูงอายุติดเตียง 18 คน ผู้สูงอายุมีภาวะความเสี่ยงสมองเสื่อม 15 คน ทั้งนี้การดูแล/ส่งเสริมสุขภาพที่ถูกต้องชัดเจนเป็นรูปธรรมนั้นสำคัญคือ ผู้สูงอายุต้องไม่มีการหกล้มจากการลื่น การเคลื่อนไหวที่ดีถูกวิธี มีสุขภาพจิตที่ดี ไม่ซึมเศร้า นั้นเป็นสิ่งที่สำคัญมาก และจากการดำเนินงานปี 2567 Care Giver ได้ดำเนินการเฝ้าระวังผู้สูงอายุทั้งสิ้น 98 คน พบว่าล้ม จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 12.24 ล้มแล้วไม่เจ็บ จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 5.1 และล้มแล้วเจ็บ จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 7.14
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเขาเพดาน ได้เล็งเห็นความสำคัญของการสร้างเสริมสุขภาพดังกล่าวที่ควรจะดูแลต่อเนื่อง พร้อมทั้งเพิ่มเติมผู้สูงอายุด้วย จึงได้จัด โครงการอบรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ปี 2568 ภายใต้ “ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย” ขึ้น เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้สูงอายุ กลายเป็นกลุ่มพึ่งพิง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- (๑) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองโรค 10 เรื่อง 9 ด้าน (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีปัญหา 10 เรื่อง 9 ด้าน ได้รับการช่วยเหลือ และส่งต่อตามแนวทาง (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำผู้สูงอายุ ให้มีความรู้,ความเข้าใจและมีทักษะในการดูแลตนเอง ไม่ให้ลืม ไม่ล้ม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
สูงอายุจะมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดีขึ้น ลดภาวะซึมเศร้าและความจำเสื่อมในผู้สูงอายุ มีพฤติกรรมการทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพมากขึ้น และสร้างความร่วมมือและการสนับสนุนจากชุมชนในการดูแลผู้สูงอายุ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
(๑) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองโรค 10 เรื่อง 9 ด้าน (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีปัญหา 10 เรื่อง 9 ด้าน ได้รับการช่วยเหลือ และส่งต่อตามแนวทาง (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำผู้สูงอายุ ให้มีความรู้,ความเข้าใจและมีทักษะในการดูแลตนเอง ไม่ให้ลืม ไม่ล้ม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย
ตัวชี้วัด : (๑) ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุได้รับการได้รับการตรวจคัดกรองโรค 10 เรื่อง 9 ด้าน
(2) ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุที่มีปัญหา 10 เรื่อง 9 ด้าน ได้รับการช่วยเหลือ และส่งต่อตามแนวทาง
(3) ร้อยละ 80 ของแกนนำผู้สูงอายุมีความรู้,ความเข้าใจและมีทักษะในการดูแลตนเอง ไม่ให้ลืม ไม่ล้ม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย
1.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) (๑) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองโรค 10 เรื่อง 9 ด้าน (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีปัญหา 10 เรื่อง 9 ด้าน ได้รับการช่วยเหลือ และส่งต่อตามแนวทาง (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำผู้สูงอายุ ให้มีความรู้,ความเข้าใจและมีทักษะในการดูแลตนเอง ไม่ให้ลืม ไม่ล้ม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ปี 2568 ภายใต้ “ไม่ลืม ไม่ล้ม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย” จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1523-1-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงพยาบาลส่งเสริทสุขภาพตำบลบ้านเขาเพดาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ปี 2568 ภายใต้ “ไม่ลืม ไม่ล้ม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย” ”
ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริทสุขภาพตำบลบ้านเขาเพดาน
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1523-1-05 เลขที่ข้อตกลง 4/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ปี 2568 ภายใต้ “ไม่ลืม ไม่ล้ม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย” จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ปี 2568 ภายใต้ “ไม่ลืม ไม่ล้ม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย”
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ปี 2568 ภายใต้ “ไม่ลืม ไม่ล้ม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย” " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1523-1-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 17,280.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปี 2564 ประเทศไทยเข้าสู่ “สังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์”หรือที่เรียกว่า Completeaged society ซึ่งจะมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป มากกว่า 20% ของประชากรทั้งประเทศ หรือมีประชากรอายุ 65 ปีขึ้นไป มากกว่า 14 % ของประชากรทั้งประเทศ เนื่องจากจำนวนประชากรการเกิดลดลง และเทคโนโลยีทางด้านการแพทย์มีการพัฒนามากขึ้น ทำให้สังคมผู้สูงอายุมีจำนวนเพิ่มมากขึ้นด้วย จากข้อมูลองค์การอนามัยโลก พบว่า ผู้สูงอายุร้อยละ 95 มีความเจ็บป่วยด้วยโรคและมีปัญหาสุขภาพ มีเพียงร้อยละ 5 เท่านั้น ที่มีสุขภาพแข็งแรง โดยมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์เพียงร้อยละ 46 ความเสื่อมของวัยผู้สูงอายุ จะทำให้มีภาวะเปราะบางซึ่งที่พบบ่อย ได้แก่ หกล้ม หลงลืม ซึมเศร้า ประสิทธิภาพบดเคี้ยวลดลง ไม่สามารถเลือกอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการและต้องพึ่งพาบุคคลอื่น การที่ผู้สูงอายุจะช่วยเหลือตนเองให้ได้มากและนานที่สุดบนความเสื่อมตามธรรมชาติ ของวัยที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ จำเป็นจะต้องได้รับการส่งเสริม ให้มีความรอบรู้เกี่ยวกับสุขภาพที่เพียงพอและหันมาดูแลตนเองให้มีสุขภาพร่างกาย สุขภาพใจให้แข็งแรงอยู่เสมอ เพื่อไม่เป็นภาระลูกหลานและสังคม
ในเขตรับผิดขอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเขาเพดาน มีผู้สูงอายุในปี 2568ทั้งหมด 373 คน แยกประเภทตามสภาวะพึ่งพิงทางสุขภาพได้ ดังนี้ ผู้สูงอายุติดสังคม 205 คน ผู้สูงอายุติดบ้าน 150 คน ผู้สูงอายุติดเตียง 18 คน ผู้สูงอายุมีภาวะความเสี่ยงสมองเสื่อม 15 คน ทั้งนี้การดูแล/ส่งเสริมสุขภาพที่ถูกต้องชัดเจนเป็นรูปธรรมนั้นสำคัญคือ ผู้สูงอายุต้องไม่มีการหกล้มจากการลื่น การเคลื่อนไหวที่ดีถูกวิธี มีสุขภาพจิตที่ดี ไม่ซึมเศร้า นั้นเป็นสิ่งที่สำคัญมาก และจากการดำเนินงานปี 2567 Care Giver ได้ดำเนินการเฝ้าระวังผู้สูงอายุทั้งสิ้น 98 คน พบว่าล้ม จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 12.24 ล้มแล้วไม่เจ็บ จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 5.1 และล้มแล้วเจ็บ จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 7.14
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านเขาเพดาน ได้เล็งเห็นความสำคัญของการสร้างเสริมสุขภาพดังกล่าวที่ควรจะดูแลต่อเนื่อง พร้อมทั้งเพิ่มเติมผู้สูงอายุด้วย จึงได้จัด โครงการอบรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ปี 2568 ภายใต้ “ไม่ลืม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย” ขึ้น เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้สูงอายุ กลายเป็นกลุ่มพึ่งพิง
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- (๑) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองโรค 10 เรื่อง 9 ด้าน (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีปัญหา 10 เรื่อง 9 ด้าน ได้รับการช่วยเหลือ และส่งต่อตามแนวทาง (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำผู้สูงอายุ ให้มีความรู้,ความเข้าใจและมีทักษะในการดูแลตนเอง ไม่ให้ลืม ไม่ล้ม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
สูงอายุจะมีสุขภาพร่างกายและจิตใจที่ดีขึ้น ลดภาวะซึมเศร้าและความจำเสื่อมในผู้สูงอายุ มีพฤติกรรมการทานอาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพมากขึ้น และสร้างความร่วมมือและการสนับสนุนจากชุมชนในการดูแลผู้สูงอายุ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | (๑) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองโรค 10 เรื่อง 9 ด้าน (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีปัญหา 10 เรื่อง 9 ด้าน ได้รับการช่วยเหลือ และส่งต่อตามแนวทาง (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำผู้สูงอายุ ให้มีความรู้,ความเข้าใจและมีทักษะในการดูแลตนเอง ไม่ให้ลืม ไม่ล้ม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย ตัวชี้วัด : (๑) ร้อยละ 80 ของผู้สูงอายุได้รับการได้รับการตรวจคัดกรองโรค 10 เรื่อง 9 ด้าน (2) ร้อยละ 100 ของผู้สูงอายุที่มีปัญหา 10 เรื่อง 9 ด้าน ได้รับการช่วยเหลือ และส่งต่อตามแนวทาง (3) ร้อยละ 80 ของแกนนำผู้สูงอายุมีความรู้,ความเข้าใจและมีทักษะในการดูแลตนเอง ไม่ให้ลืม ไม่ล้ม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย |
1.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) (๑) เพื่อให้ผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองโรค 10 เรื่อง 9 ด้าน (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุที่มีปัญหา 10 เรื่อง 9 ด้าน ได้รับการช่วยเหลือ และส่งต่อตามแนวทาง (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพแกนนำผู้สูงอายุ ให้มีความรู้,ความเข้าใจและมีทักษะในการดูแลตนเอง ไม่ให้ลืม ไม่ล้ม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ปี 2568 ภายใต้ “ไม่ลืม ไม่ล้ม ไม่ซึมเศร้า กินข้าวอร่อย” จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1523-1-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงพยาบาลส่งเสริทสุขภาพตำบลบ้านเขาเพดาน )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......