โครงการป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานปี 2568 ”
ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาเมืองเพชร
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานปี 2568
ที่อยู่ ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1523-1-08 เลขที่ข้อตกลง 7/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานปี 2568 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1523-1-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,840.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
อุบัติการณ์โรคเบาหวานแต่ละปีเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนและเศรษฐกิจของประเทศไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจากโรคเรื้อรังเป็นโรคที่จำเป็นต้องรักษาอย่างต่อเนื่อง มีค่าใช้จ่ายด้านการรักษาสูง และทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรงตลอดถึงอาจสูญเสียอวัยวะอื่นๆ ได้แก่ ตา เท้า ไต และหัวใจ สำหรับสาเหตุที่ทำโรคเกิดความรุนแรงและมีภาวะแทรกซ้อนจากหลายสาเหตุ ซึ่งปัจจัยที่สำคัญคือการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง ได้แก่ การรับประทานยาไม่ถูกต้องไม่ต่อเนื่อง ขาดการรักษา การขาดการออกกำลังกาย การรับประทานอาหารที่มันจัด เค็มจัด หวานจัด รวมทั้งการบริโภคผักและผลไม้ที่ไม่เพียงพอ ความเครียด การสูบบุหรี่และดื่มสุรา เป็นต้นหากผู้ป่วยมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา ทำให้ส่งผลกระทบต่อสุขภาพจิตใจของผู้ป่วยเบาหวานและครอบครัว สูญเสียค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษามากขึ้น ดังนั้น การดำเนินการในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขของประเทศ จึงมีความจำเป็นต้องพัฒนาผู้ป่วยให้มีทักษะและองค์ความรู้ เพื่อนำไปพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสมร่วม เข้าถึงการเข้าถึงรับบริการที่จำเป็นเพื่อป้องกันความรุนแรงของโรค
จากข้อมูลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2567 ที่ผ่านมาพบว่าโรคเบาหวานทั้งหมดในพื้นที่เขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาเมืองเพชรมีจำนวน 174 รายและได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนจำนวน 101 รายคิดเป็นร้อยละ58.05 ผลการตรวจมีภาวะแทรกซ้อนจำนวน 14รายคิดเป็นร้อยละ13.86ซึ่งเกิดโรคแทรกซ้อนเพิ่มขึ้นจากผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนต่างๆ และมีภาวะแทรกซ้อนทางตาร้อยละ 4.95 ภาวะแทรกซ้อนทางเท้าร้อยละ3.96 และแทรกซ้อนทางไตร้อยละ 4.95 ถือเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของพื้นที่ เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้มีภาวะสุขภาพดีขึ้น ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตำบลนาเมืองเพชรได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการนี้เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยเบาหวานได้มีความรู้ ความเข้าใจดูแลตนเองได้ดีขึ้น และได้รับการตรวจ ค้นหาภาวะแทรกซ้อนมากขึ้นเพื่อลดความรุนของโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวานได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันภาวะแทรกซ้อน (2) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจหาน้ำตาลสะสมในเลือด อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง (3) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจคัดกรองจอประสาทตาเสื่อม อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง (4) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจเท้าโดยเจ้าหน้าที่อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ป่วยเบาหวาน มีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างถูกต้อง มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
2.ผู้ป่วยเบาหวาน มีพฤติกรรมที่ถูกต้องในควบคุมน้ำตาลได้ดีขึ้น เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนได้อย่างยั่งยืน
- ผู้ป่วยเบาหวานมีภาวะแทรกซ้อนน้อยลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
(1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันภาวะแทรกซ้อน (2) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจหาน้ำตาลสะสมในเลือด อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง (3) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจคัดกรองจอประสาทตาเสื่อม อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง (4) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจเท้าโดยเจ้าหน้าที่อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
ตัวชี้วัด : (๑) ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยโรคเบาหวาน มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันภาวะแทรกซ้อน
(2) ร้อยละ 90 ของผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจหาน้ำตาลสะสมในเลือดอย่างน้อยปีละ 1ครั้ง
(3) ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจกรองจอประสาทตาเสื่อม อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
(4) ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจเท้าอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
1.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันภาวะแทรกซ้อน (2) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจหาน้ำตาลสะสมในเลือด อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง (3) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจคัดกรองจอประสาทตาเสื่อม อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง (4) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจเท้าโดยเจ้าหน้าที่อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานปี 2568 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1523-1-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาเมืองเพชร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานปี 2568 ”
ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาเมืองเพชร
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1523-1-08 เลขที่ข้อตกลง 7/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานปี 2568 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1523-1-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,840.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
อุบัติการณ์โรคเบาหวานแต่ละปีเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ว ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนและเศรษฐกิจของประเทศไทยเป็นอย่างมาก เนื่องจากโรคเรื้อรังเป็นโรคที่จำเป็นต้องรักษาอย่างต่อเนื่อง มีค่าใช้จ่ายด้านการรักษาสูง และทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรงตลอดถึงอาจสูญเสียอวัยวะอื่นๆ ได้แก่ ตา เท้า ไต และหัวใจ สำหรับสาเหตุที่ทำโรคเกิดความรุนแรงและมีภาวะแทรกซ้อนจากหลายสาเหตุ ซึ่งปัจจัยที่สำคัญคือการมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่ถูกต้อง ได้แก่ การรับประทานยาไม่ถูกต้องไม่ต่อเนื่อง ขาดการรักษา การขาดการออกกำลังกาย การรับประทานอาหารที่มันจัด เค็มจัด หวานจัด รวมทั้งการบริโภคผักและผลไม้ที่ไม่เพียงพอ ความเครียด การสูบบุหรี่และดื่มสุรา เป็นต้นหากผู้ป่วยมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมมีโอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา ทำให้ส่งผลกระทบต่อสุขภาพจิตใจของผู้ป่วยเบาหวานและครอบครัว สูญเสียค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษามากขึ้น ดังนั้น การดำเนินการในการแก้ไขปัญหาสาธารณสุขของประเทศ จึงมีความจำเป็นต้องพัฒนาผู้ป่วยให้มีทักษะและองค์ความรู้ เพื่อนำไปพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพให้เหมาะสมร่วม เข้าถึงการเข้าถึงรับบริการที่จำเป็นเพื่อป้องกันความรุนแรงของโรค จากข้อมูลการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2567 ที่ผ่านมาพบว่าโรคเบาหวานทั้งหมดในพื้นที่เขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาเมืองเพชรมีจำนวน 174 รายและได้รับการตรวจภาวะแทรกซ้อนจำนวน 101 รายคิดเป็นร้อยละ58.05 ผลการตรวจมีภาวะแทรกซ้อนจำนวน 14รายคิดเป็นร้อยละ13.86ซึ่งเกิดโรคแทรกซ้อนเพิ่มขึ้นจากผู้ป่วยเบาหวานที่มีภาวะแทรกซ้อนต่างๆ และมีภาวะแทรกซ้อนทางตาร้อยละ 4.95 ภาวะแทรกซ้อนทางเท้าร้อยละ3.96 และแทรกซ้อนทางไตร้อยละ 4.95 ถือเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญของพื้นที่ เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวานได้มีภาวะสุขภาพดีขึ้น ทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตำบลนาเมืองเพชรได้ตระหนักและเห็นความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการนี้เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยเบาหวานได้มีความรู้ ความเข้าใจดูแลตนเองได้ดีขึ้น และได้รับการตรวจ ค้นหาภาวะแทรกซ้อนมากขึ้นเพื่อลดความรุนของโรคแทรกซ้อนในผู้ป่วยโรคเบาหวานได้
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันภาวะแทรกซ้อน (2) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจหาน้ำตาลสะสมในเลือด อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง (3) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจคัดกรองจอประสาทตาเสื่อม อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง (4) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจเท้าโดยเจ้าหน้าที่อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ป่วยเบาหวาน มีความรู้ในการดูแลสุขภาพตนเองได้อย่างถูกต้อง มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 2.ผู้ป่วยเบาหวาน มีพฤติกรรมที่ถูกต้องในควบคุมน้ำตาลได้ดีขึ้น เพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนได้อย่างยั่งยืน
- ผู้ป่วยเบาหวานมีภาวะแทรกซ้อนน้อยลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันภาวะแทรกซ้อน (2) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจหาน้ำตาลสะสมในเลือด อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง (3) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจคัดกรองจอประสาทตาเสื่อม อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง (4) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจเท้าโดยเจ้าหน้าที่อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ตัวชี้วัด : (๑) ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยโรคเบาหวาน มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันภาวะแทรกซ้อน (2) ร้อยละ 90 ของผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจหาน้ำตาลสะสมในเลือดอย่างน้อยปีละ 1ครั้ง (3) ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจกรองจอประสาทตาเสื่อม อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง (4) ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจเท้าอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง |
1.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) (1) เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเบาหวาน มีความรู้ ความเข้าใจในการป้องกันภาวะแทรกซ้อน (2) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจหาน้ำตาลสะสมในเลือด อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง (3) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจคัดกรองจอประสาทตาเสื่อม อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง (4) เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานได้รับการตรวจเท้าโดยเจ้าหน้าที่อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการป้องกันภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยเบาหวานปี 2568 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1523-1-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาเมืองเพชร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......