โครงการผู้ป่วยเบาหวานสุขภาพดีวิถีไทย ด้วยสมุนไพรใกล้ตัว ประจำปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการผู้ป่วยเบาหวานสุขภาพดีวิถีไทย ด้วยสมุนไพรใกล้ตัว ประจำปี 2568 ”
ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาเมืองเพชร
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการผู้ป่วยเบาหวานสุขภาพดีวิถีไทย ด้วยสมุนไพรใกล้ตัว ประจำปี 2568
ที่อยู่ ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1523-1-10 เลขที่ข้อตกลง 9/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการผู้ป่วยเบาหวานสุขภาพดีวิถีไทย ด้วยสมุนไพรใกล้ตัว ประจำปี 2568 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้ป่วยเบาหวานสุขภาพดีวิถีไทย ด้วยสมุนไพรใกล้ตัว ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการผู้ป่วยเบาหวานสุขภาพดีวิถีไทย ด้วยสมุนไพรใกล้ตัว ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1523-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,030.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เบาหวานเป็นโรคเรื้อรัง ที่เป็นปัญหาทางสาธารณสุขของประเทศ ก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพกับอวัยวะต่าง ๆ เช่น ตา ไต หัวใจ และระบบประสาทหลอดเลือด ซึ่งผู้ป่วยเบาหวานมักมีหลอดเลือดแดงแข็ง (atherosclerosis) ทำให้ เลือดไปเลี้ยงเท้าไม่พอ จนอาจทำให้เท้าเย็น เป็นตะคริว เส้นประสาทรับความรู้สึกมีความผิดปกติ ความรู้สึกสัมผัสบริเวณเท้าลดลง ทำให้เกิดอาการชาและการรับรู้ที่เท้าเสียไป เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดบาดแผลที่เท้ามากขึ้น จนต้องตัดเท้าซึ่งนำไปสู่ความพิการ ส่งผลให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยลดลง นับว่าเป็นปัญหาสำคัญที่กระทบต่อการดำเนินชีวิต ซึ่งควรได้รับความรู้รวมทั้งข้อมูลที่เกี่ยวข้องอย่างเพียงพอ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อนทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ทั้งนี้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน มีการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพในผู้ที่มีอาการชาเท้า ด้วยการนวดและการแช่เท้ากระตุ้นให้โลหิตหมุนเวียน ลดอาการตึงเครียดของกล้ามเนื้อส่วนขา ขจัดความเมื่อยล้า จึงสามารถนำมาเป็นแนวทาง เพื่อช่วยเสริมสร้างสุขภาพให้กับประชาชนกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ตลอดจนการนำไปประยุกต์ใช้ในการดูแลสุขภาพตนเอง ให้มีความสอดคล้องกับวิถีชีวิตของชุมชน สามารถพึ่งพาตนเองได้มากขึ้น
สถานการณ์โรคเรื้อรังในพื้นที่หมู่ที่ 3,4,5 และ 6 ตำบลนาเมืองเพชร ปี 2565 – 2567 มีผู้ป่วยหวานจำนวน 137,147 และ 174 คน ซึ่งมีภาวะแทรกซ้อนทางเท้า ในปี 2565 – 2567 จำนวน 4,4 และ 5 คน
จากสภาพปัญหาดังกล่าว จะเห็นได้ว่า ผู้ป่วยโรคเรื้อรังในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาเมืองเพชร มีอัตราการป่วยและมีภาวะแทรกซ้อนทางเท้าที่สูงขึ้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาเมืองเพชร จึงได้จัดทำโครงการ “โครงการผู้ป่วยเบาหวานสุขภาพดีวิถีไทย ด้วยสมุนไพรใกล้ตัว ประจำปี 2568” โดยมีการอบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยแก่ผู้ป่วยเบาหวาน การดูแลเท้าด้วยตนเอง การแช่เท้าด้วยสมุนไพร ตามแนวทาง การแพทย์แผนไทย ช่วยส่งเสริมให้คนในชุมชน มีความเข้าใจในการแพทย์แผนไทย มองเห็นคุณค่าของสมุนไพรที่มีอยู่มากมายในชุมชนของตนเอง และรู้จักเลือกสรรนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสุขภาพของตนเองและบุคคลในครอบครัว ตามแนวทางการแพทย์แผนไทยเพื่อประชาชนคนไทยมีสุขภาพที่ดีถ้วนหน้า
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ในการดูแลสุขภาพเท้าเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนของเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน 2. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการ ได้รับการตรวจประเมินเบื้องต้นอาการชาเท้า และ ดูแลเกี่ยวกับระบบกล้ามเนื้อและไหลเวียนโลหิต 3. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการ ที่มีภาวะผิดปกติจากการตรวจประเมินเบื้องต้น ได้รับการ ดูแล ฟื้นฟู และได้รับการติดตาม อาการชาเท้า 4. หลังได้รับการติดตามครบ 4 สัปดาห์ ผู้ป่วยที่มีอาการชาเท้า ได้รับการส่งต่อ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้เกี่ยวกับการใช้สมุนไพรในการดูแลเท้า เพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน
2. มีการใช้สมุนไพรเพื่อส่งเสริมสุขภาพตนเอง และเพิ่มคุณค่าของสมุนไพรในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ในการดูแลสุขภาพเท้าเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนของเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน 2. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการ ได้รับการตรวจประเมินเบื้องต้นอาการชาเท้า และ ดูแลเกี่ยวกับระบบกล้ามเนื้อและไหลเวียนโลหิต 3. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการ ที่มีภาวะผิดปกติจากการตรวจประเมินเบื้องต้น ได้รับการ ดูแล ฟื้นฟู และได้รับการติดตาม อาการชาเท้า 4. หลังได้รับการติดตามครบ 4 สัปดาห์ ผู้ป่วยที่มีอาการชาเท้า ได้รับการส่งต่อ
ตัวชี้วัด : 8๐ ของผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ในการดูแลสุขภาพเท้าเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนของเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน
(2) ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการ ได้รับการตรวจประเมินเบื้องต้นอาการชาเท้า และ ดูแลเกี่ยวกับระบบกล้ามเนื้อและไหลเวียนโลหิต
(3) ร้อยละ 10๐ ของผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการ ที่มีภาวะผิดปกติจากการตรวจประเมินเบื้องต้นได้รับการดูแล ฟื้นฟู และได้รับการติดตาม อาการชาเท้า
(4) ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยที่มีอาการชาเท้า หลังการติดตามได้รับการส่งต่อ
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
0
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ในการดูแลสุขภาพเท้าเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนของเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน 2. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการ ได้รับการตรวจประเมินเบื้องต้นอาการชาเท้า และ ดูแลเกี่ยวกับระบบกล้ามเนื้อและไหลเวียนโลหิต 3. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการ ที่มีภาวะผิดปกติจากการตรวจประเมินเบื้องต้น ได้รับการ ดูแล ฟื้นฟู และได้รับการติดตาม อาการชาเท้า 4. หลังได้รับการติดตามครบ 4 สัปดาห์ ผู้ป่วยที่มีอาการชาเท้า ได้รับการส่งต่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการผู้ป่วยเบาหวานสุขภาพดีวิถีไทย ด้วยสมุนไพรใกล้ตัว ประจำปี 2568 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1523-1-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาเมืองเพชร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการผู้ป่วยเบาหวานสุขภาพดีวิถีไทย ด้วยสมุนไพรใกล้ตัว ประจำปี 2568 ”
ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
หัวหน้าโครงการ
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาเมืองเพชร
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1523-1-10 เลขที่ข้อตกลง 9/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 19 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการผู้ป่วยเบาหวานสุขภาพดีวิถีไทย ด้วยสมุนไพรใกล้ตัว ประจำปี 2568 จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการผู้ป่วยเบาหวานสุขภาพดีวิถีไทย ด้วยสมุนไพรใกล้ตัว ประจำปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการผู้ป่วยเบาหวานสุขภาพดีวิถีไทย ด้วยสมุนไพรใกล้ตัว ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลนาเมืองเพชร อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68-L1523-1-10 ระยะเวลาการดำเนินงาน 19 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,030.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาเมืองเพชร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
เบาหวานเป็นโรคเรื้อรัง ที่เป็นปัญหาทางสาธารณสุขของประเทศ ก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพกับอวัยวะต่าง ๆ เช่น ตา ไต หัวใจ และระบบประสาทหลอดเลือด ซึ่งผู้ป่วยเบาหวานมักมีหลอดเลือดแดงแข็ง (atherosclerosis) ทำให้ เลือดไปเลี้ยงเท้าไม่พอ จนอาจทำให้เท้าเย็น เป็นตะคริว เส้นประสาทรับความรู้สึกมีความผิดปกติ ความรู้สึกสัมผัสบริเวณเท้าลดลง ทำให้เกิดอาการชาและการรับรู้ที่เท้าเสียไป เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดบาดแผลที่เท้ามากขึ้น จนต้องตัดเท้าซึ่งนำไปสู่ความพิการ ส่งผลให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยลดลง นับว่าเป็นปัญหาสำคัญที่กระทบต่อการดำเนินชีวิต ซึ่งควรได้รับความรู้รวมทั้งข้อมูลที่เกี่ยวข้องอย่างเพียงพอ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสม ปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อนทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ทั้งนี้ ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์พื้นบ้าน มีการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพในผู้ที่มีอาการชาเท้า ด้วยการนวดและการแช่เท้ากระตุ้นให้โลหิตหมุนเวียน ลดอาการตึงเครียดของกล้ามเนื้อส่วนขา ขจัดความเมื่อยล้า จึงสามารถนำมาเป็นแนวทาง เพื่อช่วยเสริมสร้างสุขภาพให้กับประชาชนกลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ตลอดจนการนำไปประยุกต์ใช้ในการดูแลสุขภาพตนเอง ให้มีความสอดคล้องกับวิถีชีวิตของชุมชน สามารถพึ่งพาตนเองได้มากขึ้น
สถานการณ์โรคเรื้อรังในพื้นที่หมู่ที่ 3,4,5 และ 6 ตำบลนาเมืองเพชร ปี 2565 – 2567 มีผู้ป่วยหวานจำนวน 137,147 และ 174 คน ซึ่งมีภาวะแทรกซ้อนทางเท้า ในปี 2565 – 2567 จำนวน 4,4 และ 5 คน
จากสภาพปัญหาดังกล่าว จะเห็นได้ว่า ผู้ป่วยโรคเรื้อรังในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาเมืองเพชร มีอัตราการป่วยและมีภาวะแทรกซ้อนทางเท้าที่สูงขึ้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาเมืองเพชร จึงได้จัดทำโครงการ “โครงการผู้ป่วยเบาหวานสุขภาพดีวิถีไทย ด้วยสมุนไพรใกล้ตัว ประจำปี 2568” โดยมีการอบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยแก่ผู้ป่วยเบาหวาน การดูแลเท้าด้วยตนเอง การแช่เท้าด้วยสมุนไพร ตามแนวทาง การแพทย์แผนไทย ช่วยส่งเสริมให้คนในชุมชน มีความเข้าใจในการแพทย์แผนไทย มองเห็นคุณค่าของสมุนไพรที่มีอยู่มากมายในชุมชนของตนเอง และรู้จักเลือกสรรนำมาใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสุขภาพของตนเองและบุคคลในครอบครัว ตามแนวทางการแพทย์แผนไทยเพื่อประชาชนคนไทยมีสุขภาพที่ดีถ้วนหน้า
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ในการดูแลสุขภาพเท้าเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนของเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน 2. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการ ได้รับการตรวจประเมินเบื้องต้นอาการชาเท้า และ ดูแลเกี่ยวกับระบบกล้ามเนื้อและไหลเวียนโลหิต 3. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการ ที่มีภาวะผิดปกติจากการตรวจประเมินเบื้องต้น ได้รับการ ดูแล ฟื้นฟู และได้รับการติดตาม อาการชาเท้า 4. หลังได้รับการติดตามครบ 4 สัปดาห์ ผู้ป่วยที่มีอาการชาเท้า ได้รับการส่งต่อ
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้เกี่ยวกับการใช้สมุนไพรในการดูแลเท้า เพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อน 2. มีการใช้สมุนไพรเพื่อส่งเสริมสุขภาพตนเอง และเพิ่มคุณค่าของสมุนไพรในชุมชน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ในการดูแลสุขภาพเท้าเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนของเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน 2. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการ ได้รับการตรวจประเมินเบื้องต้นอาการชาเท้า และ ดูแลเกี่ยวกับระบบกล้ามเนื้อและไหลเวียนโลหิต 3. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการ ที่มีภาวะผิดปกติจากการตรวจประเมินเบื้องต้น ได้รับการ ดูแล ฟื้นฟู และได้รับการติดตาม อาการชาเท้า 4. หลังได้รับการติดตามครบ 4 สัปดาห์ ผู้ป่วยที่มีอาการชาเท้า ได้รับการส่งต่อ ตัวชี้วัด : 8๐ ของผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ในการดูแลสุขภาพเท้าเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนของเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน (2) ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการ ได้รับการตรวจประเมินเบื้องต้นอาการชาเท้า และ ดูแลเกี่ยวกับระบบกล้ามเนื้อและไหลเวียนโลหิต (3) ร้อยละ 10๐ ของผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการ ที่มีภาวะผิดปกติจากการตรวจประเมินเบื้องต้นได้รับการดูแล ฟื้นฟู และได้รับการติดตาม อาการชาเท้า (4) ร้อยละ 100 ของผู้ป่วยที่มีอาการชาเท้า หลังการติดตามได้รับการส่งต่อ |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 0 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการ มีความรู้ในการดูแลสุขภาพเท้าเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนของเท้าในผู้ป่วยเบาหวาน 2. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการ ได้รับการตรวจประเมินเบื้องต้นอาการชาเท้า และ ดูแลเกี่ยวกับระบบกล้ามเนื้อและไหลเวียนโลหิต 3. เพื่อให้ผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมโครงการ ที่มีภาวะผิดปกติจากการตรวจประเมินเบื้องต้น ได้รับการ ดูแล ฟื้นฟู และได้รับการติดตาม อาการชาเท้า 4. หลังได้รับการติดตามครบ 4 สัปดาห์ ผู้ป่วยที่มีอาการชาเท้า ได้รับการส่งต่อ
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการผู้ป่วยเบาหวานสุขภาพดีวิถีไทย ด้วยสมุนไพรใกล้ตัว ประจำปี 2568 จังหวัด ตรัง
รหัสโครงการ 68-L1523-1-10
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลนาเมืองเพชร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......