กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการเสริมพลังกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 8 บ้านโต๊ะบัน ”
ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นายก่อหยาด เขาบาท




ชื่อโครงการ โครงการเสริมพลังกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 8 บ้านโต๊ะบัน

ที่อยู่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 68 - L8429 - 02 - 18 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 20 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการเสริมพลังกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 8 บ้านโต๊ะบัน จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการเสริมพลังกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 8 บ้านโต๊ะบัน



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการเสริมพลังกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 8 บ้านโต๊ะบัน " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จังหวัดตรัง รหัสโครงการ 68 - L8429 - 02 - 18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 20 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 10,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ่อหิน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

พฤติกรรมและวิถีชีวิตมีผลอย่างมากต่อสุขภาวะของมนุษย์ พฤติกรรมเสี่ยงต่าง ๆ ของแต่ละบุคคลเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อการเจ็บป่วยของบุคคลนั้น ๆ จากสถานการณ์ของคนไทยในปัจจุบัน พบว่า โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจและหลอดเลือดเป็นสาเหตุการเจ็บป่วยและการตายในลำดับต้นๆปัจจุบันคนไทยมีภาวะอ้วนและอ้วนลงพุงมากขึ้นจากพฤติกรรมการบริโภคอาหาร รสหวาน มัน เค็ม เพิ่มขึ้นรับประทานผักและผลไม้น้อยลง และขาดการออกกำลังกาย ภาวะอ้วนลงพุงในประชาชนอายุ 15 ปี ขึ้นไปทั่วประเทศ ของกรมอนามัยพบว่า เพศชายมีรอบเอวเกิน 90 เซนติเมตร ร้อยละ 34 และเพศหญิงมีรอบเอวกิน 80 เซนติเมตร ร้อยละ 58 ทำให้มีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญด้านสาธารณสุขและเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ซึ่งโรคนี้สามารถป้องกันได้โดยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
      เนื่องจากคนในชุมชน มีความเสี่ยงที่จะเกิดโรคความดันโลหิตสูง–โรคเบาหวาน จึงได้จัดทำโครงการของบประมาณจากหลักประกันสุขภาพ เพื่อมาให้ความรู้แก่คนในชุมชน และได้ตั้งศูนย์คนไทยห่างไกล NCDs ขึ้น เพื่อให้คนในชุมชนได้รับรู้ถึงภัยเงียบของโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ไม่ได้เกิดขึ้นจากโรคใด ไม่แพร่เชื้อจากคนสู่คน แต่ก็เกิดจากนิสัยและพฤติกรรมในการดำเนินชีวิต เช่น การบริโภคอาหาร การไม่ออกกำลังกาย โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ซึ่งเป็นภัยเงียบ เมื่ออยู่ในกลุ่มเสี่ยงแล้ว ก็ค่อยๆ สะสมอาการอย่างต่อเนื่อง จนเป็นเรื้อรังของโรคอีกด้วย เพื่อการป้องกันไม่ให้โรคเป็นเรื้อรังเพิ่มขึ้น จึงได้ทำโครงการเสริมพลังกลุ่มเสี่ยงต่อโรค เบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง
      ดังนั้น อาสาสมัครสาธารณสุขมูลฐาน หมู่ที่ 8 บ้านโต๊ะบัน ได้เล็งเห็นความสำคัญ ของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน มีสุขภาพพลานามัยที่สมบูรณ์ เป็นประชากรที่มีคุณภาพของชุมชน สืบไปในวันข้างหน้า

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ประชากรกลุ่มสงสัยหรือเสี่ยงป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ อย่างเข้าใจ
  2. เพื่อจัดตั้งสถานีสุขภาพในชุมชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
  2. กิจกรรมติดตามระดับน้ำตาลในเลือดกลุ่มเสี่ยง และค่าความดันโลหิตสูง

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ อย่างเข้าใจ
  2. อสม. และแกนนำสุขภาพ มีความรู้ในการคัดกรองโรคเรื้อรังเบื้องต้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. กิจกรรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง

วันที่ 20 พฤษภาคม 2568 เวลา 08:30 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดทำโครงการเสริมพลังกลุ่มเสี่ยงต่อโรค เบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 8 บ้านโต๊ะบัน และขออนุมัติโครงการ
    2.ประชาสัมพันธ์โครงการ และค้นหากลุ่มเป้าหมายที่มีค่าความดันและน้ำตาลในเลือดที่สงสัยว่าเป็นกลุ่มเสี่ยง เพื่อมาเข้าร่วมโครงการ     3.คัดกรองกลุ่มสงสัยหรือเสี่ยงด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เข้าร่วมโครงการ     4. ประเมินภาวะสุขภาพผู้เข้าร่วมโครงการก่อนและหลังการทำกิจกรรม     5. จัดกิจกรรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและติดตามค่าระดับน้ำตาลในเลือด ค่าความดันโลหิตสูงของกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
    6. ติดตามและประเมินผลโดยการคัดกรองติดตามค่าระดับน้ำตาลในเลือดและค่าความดันโลหิต ติดต่อกัน 1 เดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ อย่างเข้าใจ
  2. อสม. และแกนนำสุขภาพ มีความรู้ในการคัดกรองโรคเรื้อรังเบื้องต้น

 

50 0

2. กิจกรรมติดตามระดับน้ำตาลในเลือดกลุ่มเสี่ยง และค่าความดันโลหิตสูง

วันที่ 20 พฤษภาคม 2568 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

1.จัดทำโครงการเสริมพลังกลุ่มเสี่ยงต่อโรค เบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 8 บ้านโต๊ะบัน และขออนุมัติโครงการ
    2.ประชาสัมพันธ์โครงการ และค้นหากลุ่มเป้าหมายที่มีค่าความดันและน้ำตาลในเลือดที่สงสัยว่าเป็นกลุ่มเสี่ยง เพื่อมาเข้าร่วมโครงการ     3.คัดกรองกลุ่มสงสัยหรือเสี่ยงด้วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง เข้าร่วมโครงการ     4. ประเมินภาวะสุขภาพผู้เข้าร่วมโครงการก่อนและหลังการทำกิจกรรม     5. จัดกิจกรรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพและติดตามค่าระดับน้ำตาลในเลือด ค่าความดันโลหิตสูง ของกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
    6. ติดตามและประเมินผลโดยการคัดกรองติดตามค่าระดับน้ำตาลในเลือดและค่าความดันโลหิต ติดต่อกัน 1 เดือน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. กลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคไม่ติดต่อและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ อย่างเข้าใจ
  2. อสม. และแกนนำสุขภาพ มีความรู้ในการคัดกรองโรคเรื้อรังเบื้องต้น

 

0 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ประชากรกลุ่มสงสัยหรือเสี่ยงป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ อย่างเข้าใจ
ตัวชี้วัด : - ร้อยละ 80 ของกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง บ้านโต๊ะบันที่เข้าร่วมโครงการ มีความตระหนักในการการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ทำให้ลดภาวะแทรกซ้อน

 

2 เพื่อจัดตั้งสถานีสุขภาพในชุมชน
ตัวชี้วัด : - อัตราผู้ป่วยโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูงรายใหม่ลดลง และในชุมชนมีศูนย์คนไทยห่างไกล NCDs ป้องกันโรคไม่ติดต่อในชุมชน

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ประชากรกลุ่มสงสัยหรือเสี่ยงป่วยด้วยโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ อย่างเข้าใจ (2) เพื่อจัดตั้งสถานีสุขภาพในชุมชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมให้ความรู้การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง (2) กิจกรรมติดตามระดับน้ำตาลในเลือดกลุ่มเสี่ยง และค่าความดันโลหิตสูง

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการเสริมพลังกลุ่มเสี่ยงต่อโรคเบาหวาน และโรคความดันโลหิตสูง หมู่ที่ 8 บ้านโต๊ะบัน จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ 68 - L8429 - 02 - 18

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายก่อหยาด เขาบาท )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด