กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการพัฒนาระบบการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กอายุ 0-5 ปี ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางปรางทิพย์ ศรีจุรี




ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาระบบการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กอายุ 0-5 ปี ปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5211-01-06 เลขที่ข้อตกลง 11/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาระบบการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กอายุ 0-5 ปี ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านหาร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาระบบการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กอายุ 0-5 ปี ปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาระบบการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กอายุ 0-5 ปี ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5211-01-06 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 15,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านหาร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การพัฒนาประเทศชาติให้เจริญก้าวหน้าต้องเริ่มต้นจากการพัฒนาคน ซึ่งคนที่มีประสิทธิภาพต้องมีการ    วางรากฐานที่ดีตั้งแต่อยู่ในครรภ์ คือ มีการเตรียมความพร้อมตั้งแต่ตั้งครรภ์ มีการดูแลครรภ์อย่างมีคุณภาพ            มีการคลอดที่ปลอดภัย และได้รับการอบรมเลี้ยงดูอย่างเหมาะสม มีการส่งเสริมพัฒนาการเด็กให้เหมาะสมตามวัยดังนั้นเด็กจึงเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่ายิ่งต่อการพัฒนาประเทศในอนาคต ซึ่งการจะพัฒนาเด็กให้เติบโตอย่าง              มีคุณภาพนั้นเป็นที่ทราบกันดีว่า ต้องเริ่มตั้งแต่ช่วงปฐมวัย เป็นช่วงวัยที่สำคัญที่สุดของการเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา โดยเฉพาะด้านสมองซึ่งเติบโตถึงร้อยละ 80 ของผู้ใหญ่ วัยนี้จึงสำคัญและเหมาะสมในการปูพื้นฐานเพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต สอดคล้องกับการที่กระทรวงสาธารณสุข            ได้ดำเนินการขับเคลื่อนโครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็ก โดยมีเป้าหมายมุ่งเน้นให้เด็กไทยทุกคนได้รับการส่งเสริมพัฒนาการที่ถูกต้อง มีมาตรฐานอย่างเท่าเทียมจากพ่อแม่ผู้เลี้ยงดู ชุมชน ตลอดจนการบูรณาการแผนงานของทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง เพื่อส่งเสริมพัฒนาการเด็กไทยให้เป็นไปตามศักยภาพหรือมีศักยภาพที่สูงกว่า ซึ่งการดำเนินงานที่ผ่านมาบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุขได้มีการตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัยช่วงอายุ 9, 18, 30, 42 และ 60 เดือน ด้วยคู่มือเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย (DSPM) ควบคู่ไปกับการส่งเสริมพัฒนาการเด็กโดยพ่อแม่ ผู้ปกครองและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จากสถานการณ์การดำเนินงานเฝ้าระวังพัฒนาการเด็กปฐมวัย ปี 2562 พบเด็กช่วงอายุ 9, 18, 30, 42 และ 60 เดือน ได้รับการตรวจคัดกรองครอบคลุมร้อยละ 91.38 พบพัฒนาการสงสัยล่าช้า ร้อยละ 25.82 ติดตามส่งเสริมกระตุ้นและประเมินซ้ำ ร้อยละ 93.22 หลังการติดตามส่งเสริมพบเด็ก มีพัฒนาการสมวัยเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 97.66 จากข้อมูลดังกล่าวจะพบว่า ยังมีเด็กที่ไม่ได้รับการคัดกรองและเด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าที่ติดตามไม่ได้อีก ประมาณร้อยละ 10 ส่งผลให้เด็กสูญเสียโอกาสที่จะได้รับการคัดกรอง ค้นหา ส่งเสริม ติดตาม และดูแลกระตุ้นให้มีพัฒนาการที่สมวัย การอบรมเลี้ยงดูและพัฒนาเด็กให้เติบโตและพัฒนาอย่างมีคุณภาพ สามารถดำรงชีวิตร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุขนั้น ถือเป็นหน้าที่สำคัญยิ่งที่บุคคลทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับครอบครัวไม่ว่าจะเป็นพ่อ แม่ ปู่ ย่า ตา ยาย ญาติพี่น้อง ผู้ปกครองหรือผู้เลี้ยงดูเด็กเป็นบุคคลสำคัญอันแรกที่ต้องทำหน้าที่ในการอบรมเลี้ยงดูให้ความรักเอาใจใส่        หากบุคคลในครอบครัวมีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงความสำคัญของพัฒนาการและความต้องการของเด็กแต่ละช่วงวัยก็จะส่งผลให้มีการอบรมเลี้ยงดูที่เหมาะสม กลไกการดำเนินงานส่งเสริมและแก้ไขปัญหาพัฒนาการเด็ก            อายุ 0-5 ปี จึงเป็นสิ่งสำคัญที่ทำให้เด็กเจริญเติบโต มีสุขภาพแข็งแรง มีพัฒนาการสมวัยความสามารถใน            การเรียนรู้ และเติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพ อันเป็นรากฐานสำคัญของการพัฒนาประเทศชาติต่อไป จากข้อมูลดังกล่าวข้างต้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหาร อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา
ได้ตระหนักและเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยตำบลบ้านหาร เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปี ได้รับบริการส่งเสริมพัฒนาการ การเสริมสร้างระดับสติปัญญา ให้พ่อแม่ผู้ปกครองได้เรียนรู้ การส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กผ่านการเล่น และเผยแพร่แก่ครูพี่เลี้ยงและผู้สนใจต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม
  2. เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีพัฒนาการล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัย และได้รับการส่งต่อรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติ
  3. เพื่อให้ผู้ปกครอง หรือผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการ เด็กอายุ 0-5 ปี
  4. เพื่อให้ครูพี่เลี้ยง และแกนนำสุขภาพในการติดตามพัฒนาการเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้าในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและเขตพื้นที่ที่ตัวเองรับผิดชอบ
  5. เพื่อพัฒนาระบบบริการส่งเสริมพัฒนาการเด็กอายุ 0-5 ปี ให้มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    7.1 เด็กอายุ ๐-5 ปีได้รับการประเมินพัฒนาการ และการกระตุ้นพัฒนาการที่ถูกต้องตามวัย 7.2 เด็กอายุ ๐-5 ปี มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม 7.3 เด็กอายุ ๐-5 ปีที่พัฒนาการล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัย และได้รับการรักษาที่ถูกต้องในรายที่ตรวจพบความผิดปกติมาก 7.4 ผู้ปกครอง และผู้เลี้ยงดูเด็กมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการการส่งเสริมพัฒนาการเด็กอายุ ๐-5 ปี 7.5 แกนนำสุขภาพมีความรู้ และมีทักษะในการตรวจคัดกรองและติดตามกระตุ้นพัฒนาการเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า 7.6 ครูพี่เลี้ยง/ผู้ดูแล ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และมีทักษะในการตรวจคัดกรองและติดตามกระตุ้นพัฒนาการเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้า


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม
    ตัวชี้วัด :

     

    2 เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีพัฒนาการล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัย และได้รับการส่งต่อรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติ
    ตัวชี้วัด :

     

    3 เพื่อให้ผู้ปกครอง หรือผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการ เด็กอายุ 0-5 ปี
    ตัวชี้วัด :

     

    4 เพื่อให้ครูพี่เลี้ยง และแกนนำสุขภาพในการติดตามพัฒนาการเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้าในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและเขตพื้นที่ที่ตัวเองรับผิดชอบ
    ตัวชี้วัด :

     

    5 เพื่อพัฒนาระบบบริการส่งเสริมพัฒนาการเด็กอายุ 0-5 ปี ให้มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน
    ตัวชี้วัด :

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการที่สมวัยทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ จิตใจ และสังคม (2) เพื่อให้เด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีพัฒนาการล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัย และได้รับการส่งต่อรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติ (3) เพื่อให้ผู้ปกครอง หรือผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการ เด็กอายุ 0-5 ปี (4) เพื่อให้ครูพี่เลี้ยง และแกนนำสุขภาพในการติดตามพัฒนาการเด็กที่สงสัยพัฒนาการล่าช้าในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กและเขตพื้นที่ที่ตัวเองรับผิดชอบ (5) เพื่อพัฒนาระบบบริการส่งเสริมพัฒนาการเด็กอายุ 0-5 ปี ให้มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการพัฒนาระบบการส่งเสริมพัฒนาการและการเรียนรู้ของเด็กอายุ 0-5 ปี ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา

    รหัสโครงการ 68-L5211-01-06

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางปรางทิพย์ ศรีจุรี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด