กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการคัดกรองและสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ปี 2568 ”
ตำบลลำสินธุ์ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นางสาวปวรรษา พรหมคสังคหะ




ชื่อโครงการ โครงการคัดกรองและสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ปี 2568

ที่อยู่ ตำบลลำสินธุ์ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 07 เลขที่ข้อตกลง L3364.01.05

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรองและสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ปี 2568 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลำสินธุ์ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำสินธุ์ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรองและสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรองและสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลำสินธุ์ อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 24,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำสินธุ์ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ประเทศไทยจะก้าวเข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ ปัญหาด้านสุขภาพของประชาชนที่จะเกิดจากการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุที่ต้องเผชิญคือความเจ็บป่วยและความบกพร่องในการทำงานของร่างกายในทุก ๆ ด้าน รวมถึงปัญหาที่เกิดขึ้นกับสภาพจิตใจ ซึ่งจะก่อให้เกิดรายจ่ายมหาศาลของประเทศ ดังนั้นเพื่อป้องกันและรับมือแก้ไขปัญหาดังกล่าว จึงจำเป็นต้องมีการวางแผนในการป้องกันการเจ็บป่วย การสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและการเตรียมความพร้อมของผู้สูงวัยเพื่อเข้าสู่วัยสูงอายุอย่างมีศักยภาพและมีสุขภาวะที่ดี การดูแลและการรองรับสังคมผู้สูงอายุที่เหมาะสมกับสถานการณ์และทันต่อการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้ หากไม่มีการเตรียมการรองรับหรือการวางแผนที่ดี จะนำมาสู่การเกิดปัญหาหรือวิกฤติในการดูแลผู้สูงอายุ จากผู้สูงอายุที่ได้รับการประเมินและคัดกรองสุขภาพ จากการคัดกรองพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ของผู้สูงอายุ จำนวน 350 คนในปี 2568 มีผู้สูงอายุผ่านเกณฑ์ คิดเป็นร้อยละ 61.45 ไม่ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 38.55 ซึ่งพฤติกรรมสุขภาพที่ผู้สูงอายุทำได้น้อยที่สุด 3 ลำดับ ได้แก่ 1)การมีกิจกรรมทางกาย 2)การกินผักและผลไม้ โรคที่พบมากที่สุดในผู้สูงอายุของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำสินธุ์ ได้แก่ 1)ความดันโลหิตสูง 2)เบาหวาน 3)หลอดเลือดหัวใจและ4)โรคหลอดเลือดสมองและสาเหตุการตายสูงที่สุดในผู้สูงอายุ คือโรคระบบไหลเวียนโลหิต ซึ่งประเด็นการดูแลผู้สูงอายุมีเป้าหมายในการลดภาวะพึ่งพิง จากการคัดกรองภาวะถดถอยในผู้สูงอายุ 9 ด้าน ในปี 2568 ได้ดำเนินการคัดกรองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมใน 2 ประเด็นหลัก ดังนี้ 1)การเคลื่อนไหว ปัญหาข้อเข่า ได้รับคัดกรองร้อยละ 67.73 พบผิดปกติ ร้อยละ 5.59 2)สุขภาพช่องปาก ได้รับการคัดกรองร้อยละ 67.99 พบผิดปกติ ร้อยละ 6.37 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำสินธุ์ เป็นหน่วยงานที่มีบทบาทในการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุและอนามัยสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อผู้สูงอายุในทุกระดับ ให้บรรลุเป้าหมาย “ผู้สูงอายุสามารถดูแลตนเอง ดำรงชีวิตประจำวันได้ มีคุณภาพชีวิตที่ดี และเป็นพลังทางสังคม” โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำสินธุ์ ได้จัดทำ “โครงการคัดกรองและส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ปี 2568” เพื่อเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมสูงอายุ ส่งเสริมให้สูงวัยอย่างมีสุขภาพดี และมีสุขภาวะ ได้รับการส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวม สามารถดูแลตนเองได้อย่างต่อเนื่อง ไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากการเป็นโรคเรื้อรังหรือโรคที่เป็นอยู่ ลดการเข้าสู่ภาวะพึ่งพิง มีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ มีความรอบรู้ด้านสุขภาพ โดยความร่วมมือของภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนทั้งในชุมชน และสังคมต่อไป และส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ คือผู้ที่มีภูมิความรู้ ภูมิธรรม ภูมิปัญญา สมควรส่งเสริมให้เป็นทรัพยากรที่เข้มแข็งและมีคุณค่า ให้ยาวนานที่สุด โดยนำจุดแข็งนี้มาสร้างโอกาสในการพัฒนาสังคม กิจกรรมที่เป็นประโยชน์นี้จะทำให้ผู้สูงอายุรู้สึก มีความสุขได้บริหารกาย จิต สังคม เป็นบุคคลที่พัฒนาไปตามกาลสมัยพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงพึ่งตนเองได้ และสามารถเป็นพลังให้การพึ่งพาแก่ชุมชนและสังคม จะถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์ให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม แต่ขาดโอกาส ขาดพื้นที่ในสังคม ขาดงบประมาณ และช่องทางในการเผยแพร่ภูมิปัญญา ทำให้สังคมเข้าไม่ถึงความรู้ที่มีคุณค่าในขณะที่ผู้เป็นภูมิปัญญาผู้สูงอายุ ต้องการมีส่วนร่วมในการพัฒนาชาติ บ้านเมือง นำศักยภาพ ภูมิปัญญาของผู้สูงอายุมาใช้เพื่อประโยชน์แก่สังคม กรมกิจการผู้สูงอายุ เล็งเห็นถึงความสำคัญของผู้สูงอายุจึงได้ดำเนินการส่งเสริม สนับสนุนให้ คลังปัญญาผู้สูงอายุได้แสดงศักยภาพ โดยการถ่ายทอดภูมิความรู้ ประสบการณ์ที่สั่งสมแก่บุคคลอื่นเพื่อสืบสาน ภูมิปัญญาให้คงคุณค่าคู่กับชุมชน และยังเป็นโครงการที่ส่งเสริมสนับสนุนให้นำคลังปัญญา มาใช้ประโยชน์ ความสุขใจแก่ผู้สูงอายุในการเป็นต้นแบบให้กับเด็ก เยาวชน จึงเป็นการสร้างความสุขและคุณค่าให้แก่ผู้สูงอายุ อีกทั้งยังสนับสนุนให้ผู้สูงอายุร่วมเป็นพลังขับเคลื่อนสังคม ให้เป็นพลเมืองที่มีคุณภาพ โดยมีผู้สูงอายุให้ความรู้ที่หลากหลายที่เอื้อประโยชน์ ต่อกระบวนการเรียนรู้และธำรงไว้ซึ่งภูมิปัญญาท้องถิ่นและวิถีชุมชน อีกทั้งยังสนับสนุนให้ผู้สูงอายุร่วมเป็นพลัง ขับเคลื่อนสังคมด้วยภูมิปัญญา

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมการพอกเข่าด้วยสมุนไพร
  2. กิจกรรมการคัดกรอง 9 ด้านในผู้สูงอายุ
  3. กิจกรรมฝึกการออกกำลังกายด้วยวิธีต่าง การยืดเยียด เช่นท่ารำไม้พลอง, ท่าฤาษีดัดตน ฯลฯ
  4. กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมอบรมบูรณาการในผู้สูงอายุและแกนนำชมรมผู้สูงอายุ
  5. ติดตามและประเมินผล

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 70
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

 


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 70
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 70
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมการพอกเข่าด้วยสมุนไพร (2) กิจกรรมการคัดกรอง 9 ด้านในผู้สูงอายุ (3) กิจกรรมฝึกการออกกำลังกายด้วยวิธีต่าง การยืดเยียด เช่นท่ารำไม้พลอง, ท่าฤาษีดัดตน ฯลฯ (4) กิจกรรมที่ 3  กิจกรรมอบรมบูรณาการในผู้สูงอายุและแกนนำชมรมผู้สูงอายุ (5) ติดตามและประเมินผล

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการคัดกรองและสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ ปี 2568 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวปวรรษา พรหมคสังคหะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด