กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการคัดกรอง ค้นหา และป้องกันภาวะโลหิตจางเชิงรุกในนักเรียนหญิง โรงเรียนเดชะปัตตนยานุกูล และโรงเรียนเบญจมราชูทิศ ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1)

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการคัดกรอง ค้นหา และป้องกันภาวะโลหิตจางเชิงรุกในนักเรียนหญิง โรงเรียนเดชะปัตตนยานุกูล และโรงเรียนเบญจมราชูทิศ ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1) ”
ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางสาวจิตติมา กาญจนซิม




ชื่อโครงการ โครงการคัดกรอง ค้นหา และป้องกันภาวะโลหิตจางเชิงรุกในนักเรียนหญิง โรงเรียนเดชะปัตตนยานุกูล และโรงเรียนเบญจมราชูทิศ ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1)

ที่อยู่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L7884-1-18 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 31 พฤษภาคม 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการคัดกรอง ค้นหา และป้องกันภาวะโลหิตจางเชิงรุกในนักเรียนหญิง โรงเรียนเดชะปัตตนยานุกูล และโรงเรียนเบญจมราชูทิศ ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1) จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการคัดกรอง ค้นหา และป้องกันภาวะโลหิตจางเชิงรุกในนักเรียนหญิง โรงเรียนเดชะปัตตนยานุกูล และโรงเรียนเบญจมราชูทิศ ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการคัดกรอง ค้นหา และป้องกันภาวะโลหิตจางเชิงรุกในนักเรียนหญิง โรงเรียนเดชะปัตตนยานุกูล และโรงเรียนเบญจมราชูทิศ ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสะบารัง อำเภอเมืองปัตตานี จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L7884-1-18 ระยะเวลาการดำเนินงาน 31 พฤษภาคม 2568 - 31 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 232,997.20 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะโลหิตจางเนื่องจากการขาดธาตุเหล็ก (iron deficiency anemia) หมายถึง ภาวะที่ร่างกายมีจำนวนเม็ดเลือดแดงในกระแสโลหิตต่ำกว่าปกติ อันเนื่องมาจากการขาดธาตุเหล็กที่จะใช้ในการสร้างเม็ดเลือดแดง เหล็กเป็นสารซึ่งจำเป็นสำหรับการสร้างฮีโมโกบิลของร่างกาย ปกติมีธาตุเหล็กอยู่ในร่างกายทั้งสิ้นประมาณ 3-5 กรัม โดยขึ้นอยู่กับน้ำหนักตะวและเพศ ร่างกายมีความต้องการธาตุเหล็กวันละประมาณ 2 - 2.5 มิลลิกรัมในหญิงวัยเจริญพันธุ์   ธาตุเหล็กเป็นส่วนประกอบที่สำคัญของเม็ดเลือดแดง ทำหน้าที่ในการนำออกซิเจนไปเลี้ยงส่วนต่างๆของร่างกาย ผลจากการขาดธาตุเหล็กทำให้ร่างกายมีภาวะซีด อ่อนเพีย หน้ามืด เวียนศรีษะ เหนื่อยง่าย ทำงานหรือเล่นกีฬาไม่ได้อึดเหมือนปกติ การขาดธาตุเหล็กยังส่งผลต่อระบบทางเดินอาหาร อันได้แก่ ลิ้นอักเสบ ภาวะกลืนลำบาก น้ำย้อยในกระเพาะอาหารลดลงทำให้เบื่ออาหาร เป็นต้น ถ้ามีภาวะขาดเหล้กอย่างเรื้อรังอาจพบเล็บงอขึ้นเป็นแอ่งคล้ายช้อนเรียกว่า เล็บรุปช้อนได้
  จากข้อมูลระบบสารสนเทศสนับสนุนงานส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อม ร้อยละของหญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 15 - 49 ปี ที่ได้รับการคัดกรองภาวะโลหิตจาง ในขณะที่ไม่ได้ตั้งครรภ์ และพบภาวะโลหิตจาง ระดับตำบลสะบารัง จำนวนของหญิงวัยเจริญพันธุ์ อายุ 15 - 49 ปี ในเขตรับผิดชอบทั้งหมดตรวจ 722 คน พบภาวะโลหิตจาง 365 คน คิดเป็นร้อยละ 50.55 (ที่มา : DoH Dashboard กรมอนามัย (ข้อมูลจาก HDC กระทรวงสาธารณสุข,วันที่ประมาลผล: 16 พฤสจิกายน 2566))   กระทรวงสาธารณสุข ดดยกรมอนามัยแนะนำให้จ่ายยาน้ำเสริมธาตุเหล็กแก่เด็กอายุ 6 เดือน - 5 ปี และยาเม้ดเสริมธาตุเหล็กแก่เด็กวัยเรียน อายุ 6-12 ปี และหญิงวัยเจริญพันธุื นอกจากนั้นยังแนะนำให้ตรวจคัดกรองภาวะโลหิตจาง เมื่อเด็กอายุ 6-12 เดือน 3-6 ปี และคัดกรองเพิ่มเติมสำหรับวัยรุ่นหญิงที่เริ่มมีประจำเดือน ทั้งนี้สำนักงานหลักประกันสุขภาพเเห่งชาติได้กำหนดเป็นสิทธิประโยชนืสำหรับกลุ่มวัยเด็กและเยาวชน และหญิงวัยเจริญพันธุ์ ดังนั้นการที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดทำโครงการป้องกันและแก้ไขโรคโลหิตจางที่เกิดจากธาตุเหล้กในเด็ก (จ่ายเพิ่มเติม) จะช่วยกระตุ้นการเข้าถึงบริการป้องกันโลหิตจางของเด็กปฐมวัยและเด็กโตให้ครอบคลุมและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1. นักเรียนกลุ่มเป้าหมายมีความรู้และนำไปปฏิบัติในเรื่องภาวะโลหิตจางแหล่งอาหารของธาตุเหล็กการกินยา
    2. นักเรียนกลุ่มเป้าหมายได้รับยาเสริมธาตุเหล็กและกรดโฟลิก (Ferrofolic) คนละ 52 เม็ด/ ปีการศึกษาตามชุดสิทธิประโยชน์ของหญิงวัยเจริญพันธุ์
    3. นักเรียนกลุ่มเป้าหมายได้รับการเจาะเลือดตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (ตรวจ CBC) เพื่อภาวะโลหิตจาง
    4. นักเรียนที่มีภาวะโลหิตจางได้รับการรักษา
    5. นักเรียนได้รับการตรวจคัดกรองภาวะโลหิตจางและยาเสริมะาตุเหล็กเพื่อพัฒนาการที่เหมาะสมตามวัย

    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการคัดกรอง ค้นหา และป้องกันภาวะโลหิตจางเชิงรุกในนักเรียนหญิง โรงเรียนเดชะปัตตนยานุกูล และโรงเรียนเบญจมราชูทิศ ปีงบประมาณ 2568 (ประเภทที่ 1) จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 68-L7884-1-18

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นางสาวจิตติมา กาญจนซิม )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด