โครงการบูรณาการแก้ไขปัญหาและป้องกันยาเสพติด ตำบลกะลุวอเหนือ ประจำปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการบูรณาการแก้ไขปัญหาและป้องกันยาเสพติด ตำบลกะลุวอเหนือ ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางดารณี นามะกุณา
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการบูรณาการแก้ไขปัญหาและป้องกันยาเสพติด ตำบลกะลุวอเหนือ ประจำปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2491-1-11 เลขที่ข้อตกลง 5/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบูรณาการแก้ไขปัญหาและป้องกันยาเสพติด ตำบลกะลุวอเหนือ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบูรณาการแก้ไขปัญหาและป้องกันยาเสพติด ตำบลกะลุวอเหนือ ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบูรณาการแก้ไขปัญหาและป้องกันยาเสพติด ตำบลกะลุวอเหนือ ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2491-1-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 85,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยปัจจุบันสถานการณ์การเผยแพร่ระบาดของยาเสพติด ยังคงระดับความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง รัฐบาลจึงกำหนดให้การป้องกันและแก้ไขยาเสพติด เป็นแนวนโยบายที่สำคัญและเร่งด่วนในการบริหารราชการแผ่นดิน โดยยึดหลัก "ผู้เสพ คือ ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการบำบัดรักษา ผู้ค้า คือผู้ที่ต้องได้รับโทษตามกระบวนการยุติธรรม" ซึ่งกำหนดให้เร่งรัดปราบปรามการค้ายาเสพติด และป้องกันไม่ให้กลุ่มเสี่ยงเข้าไปเป็นเหยื่อของยาเสพติด โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคม ให้ร่วมดำเนินการในลักษณะบูรณาการ ควบคู่กับมาตรการทางกฎหมาย ซึ่งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติดในประเทศไทย
จากข้อมูลการเข้ารับการบำบัด 4 เดือน ของตรวจคัดกรองเชิงรุกในพื้นที่เป้าหมายไข่แดงผู้รับผิดชอบงานได้วิเคราะห์กระบวนการคัดกรอง การบำบัด และระบบการติดตามดูแลผู้บำบัด พบว่า ผู้บำบัดไม่เข้ากระบวนการบำบัดตามวันและเวลาที่กำหนด ทำให้ขาดบำบัดเป็นจำนวนมาก ซึ่งส่งผลกระทบต่อตัวผู้บำบัด ครอบครัว ชุมชน และสังคม ดังนั้นผู้รับผิดชอบงานจึงได้พัฒนาระบบติดตามผู้ป่วยใช้ยาเสพ ติดเข้ารับการบำบัดฟื้นฟู และเพื่อให้เครือข่าย ทั้งภาคของสาธารณสุข ปกครอง ตำรวจ ท้องถิ่น มีส่วนร่วมในการติดตามผู้บำบัด ในชุมชมและเกิดความเข้าใจในกระบวนการดูแลผู้บำบัดจนเกิดประโยชน์สูงสุดกับผู้บำบัดในอนาคตในปี 2568 ได้ทบทนและหาวิธีการติดตามผู้บำบัด โดยใช้วิธีการโทรตามจากญาติและโทรหาตัวผู้บำบัดโดยตรง ทำให้จำนวนผู้บำบัด 101 ราย เข้าบำบัดตามนัดจำนวน 18 ราย คิดเป็นร้อยละ 17.28 % ไม่ตามนัดบำบัดจำนวน 35 ราย คิดเป็นร้อยละ 34.65 % ไม่ไปบำบัดตามนัดตั้งแต่ครั้งแรกจำนวน 48 ราย คิดเป็นร้อยละ 47.52 % โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกะลุวอเหนือและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสะปอม ได้เล็งเห็นความสำคัญของการดำเนินการแก้ไขปัญหา การแพร่ระบาดของยาเสพติดในชุมชน จึงได้ดำเนินการร่วมกับเจ้าหน้าตำรวจ สาธารณสุข ฝ่ายปกครอง และภาคีเครือข่ายในพื้นที่ โดยการมีส่วนร่วมสนับสนุน และเสริมสร้างให้ชุมชนเกิดความเข้มแข็ง เข้าใจ และรับรู้ปัญหาถึงพิษภัยที่เกิดขึ้นจากยาเสพติด ซึ่งมีผลกระทบต่อตนเอง ครอบครัว และชุมชน คือการบำบัดฟื้นฟูผู้ใช้ยาเสพติดโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน เป็นกระบวนการบำบัดฟื้นฟูที่สามารถทำได้ในชุมชน ซึ่งสามารถคัดกรองผู้เสพ แบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ “ผู้ใช้” ใช้เป็นครั้งคราว “ผู้เสพ” มีแนวโน้มเสพบ่อยขึ้น และ “ผู้ติด” หมกมุ่นในการเสพ โดยผู้ใช้และผู้เสพให้การดูแลแบบการบำบัดฟื้นฟูผู้ใช้ยาเสพติดโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน ส่วนผู้ติดมีปัญหาด้านสุขภาพกาย สุขภาพจิต ต้องส่งต่อสถานพยาบาล เพื่อการดูแลอย่างเหมาะสมตามสภาพปัญหาของผู้ป่วยตามสภาพปัญหาของผู้ป่วย จึงได้จัดทำโครงการบูรณาการแก้ไขปัญหาและป้องยาเสพติดตำบลกะลุวอเหนือ ประจำปีงบประมาณ 2568 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อพัฒนาการดำเนินการแก้ไขปัญหายาเสพติดแบบบูรณาการครบวงจร
- 2. เพื่อเสริมสร้างความรู้ให้แก่เครือข่ายให้เกิดกระบวนการป้องกัน แก้ไข และการบำบัดยาเสพติดโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน เพิ่มประสิทธิภาพการติดตามผู้ผ่านการบำบัดยาเสพติด
- 3.เพื่อเสริมสร้างความรู้ผู้ใช้ยาเสพติดได้รับการพัฒนาทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคมและสามารถอยู่ร่วมกับคนในชุมชนได้โดยไม่ทำให้เดือดร้อน
- 4.เพื่อติดตามผู้ใช้ยาเสพยาเสพติดเข้ากระบวนการบำบัดรักษาในสถานพยาบาลครบ 4 เดือน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- โครงการบูรณาการแก้ไขปัญหาและป้องยาเสพติด ตำบลกะลุวอเหนือ ประจำปีงบประมาณ 2568
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
100
กลุ่มวัยทำงาน
250
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เกิดกระบวนการป้องกัน แก้ไข และการบำบัดยาเสพติดโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน
2.ร้อยละ 80 ของเครือข่าย(เจ้าหน้าที่ตำรวจ/เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง/แกนนำ อสม./จนท.รพ.สต.)ได้รับความรู้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการติดตามผู้ผ่านการบำบัดยาเสพติด
3.ร้อยละ 80 ของผู้ใช้ยาเสพติดได้รับการพัฒนาทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคมและสามารถอยู่ร่วมกับคนในชุมชนได้โดยไม่ทำให้เดือดร้อน
4.ร้อยละ 80 ของการติดตามผู้ใช้ยาเสพยาเสพติดเข้ากระบวนการบำบัดรักษาในสถานพยาบาล ครบ 4 เดือน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อพัฒนาการดำเนินการแก้ไขปัญหายาเสพติดแบบบูรณาการครบวงจร
ตัวชี้วัด : 1.เพื่อพัฒนาการดำเนินการแก้ไขปัญหายาเสพติดแบบบูรณาการครบวงจร
0.00
2
2. เพื่อเสริมสร้างความรู้ให้แก่เครือข่ายให้เกิดกระบวนการป้องกัน แก้ไข และการบำบัดยาเสพติดโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน เพิ่มประสิทธิภาพการติดตามผู้ผ่านการบำบัดยาเสพติด
ตัวชี้วัด : 2. เพื่อเสริมสร้างความรู้ให้แก่เครือข่ายให้เกิดกระบวนการป้องกัน แก้ไข และการบำบัดยาเสพติดโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน เพิ่มประสิทธิภาพการติดตามผู้ผ่านการบำบัดยาเสพติด
0.00
3
3.เพื่อเสริมสร้างความรู้ผู้ใช้ยาเสพติดได้รับการพัฒนาทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคมและสามารถอยู่ร่วมกับคนในชุมชนได้โดยไม่ทำให้เดือดร้อน
ตัวชี้วัด : 3.เพื่อเสริมสร้างความรู้ผู้ใช้ยาเสพติดได้รับการพัฒนาทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคมและสามารถอยู่ร่วมกับคนในชุมชนได้โดยไม่ทำให้เดือดร้อน
0.00
4
4.เพื่อติดตามผู้ใช้ยาเสพยาเสพติดเข้ากระบวนการบำบัดรักษาในสถานพยาบาลครบ 4 เดือน
ตัวชี้วัด : 4.เพื่อติดตามผู้ใช้ยาเสพยาเสพติดเข้ากระบวนการบำบัดรักษาในสถานพยาบาลครบ 4 เดือน
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
350
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
100
กลุ่มวัยทำงาน
250
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อพัฒนาการดำเนินการแก้ไขปัญหายาเสพติดแบบบูรณาการครบวงจร (2) 2. เพื่อเสริมสร้างความรู้ให้แก่เครือข่ายให้เกิดกระบวนการป้องกัน แก้ไข และการบำบัดยาเสพติดโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน เพิ่มประสิทธิภาพการติดตามผู้ผ่านการบำบัดยาเสพติด (3) 3.เพื่อเสริมสร้างความรู้ผู้ใช้ยาเสพติดได้รับการพัฒนาทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคมและสามารถอยู่ร่วมกับคนในชุมชนได้โดยไม่ทำให้เดือดร้อน (4) 4.เพื่อติดตามผู้ใช้ยาเสพยาเสพติดเข้ากระบวนการบำบัดรักษาในสถานพยาบาลครบ 4 เดือน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการบูรณาการแก้ไขปัญหาและป้องยาเสพติด ตำบลกะลุวอเหนือ ประจำปีงบประมาณ 2568
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการบูรณาการแก้ไขปัญหาและป้องกันยาเสพติด ตำบลกะลุวอเหนือ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2491-1-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางดารณี นามะกุณา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการบูรณาการแก้ไขปัญหาและป้องกันยาเสพติด ตำบลกะลุวอเหนือ ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
หัวหน้าโครงการ
นางดารณี นามะกุณา
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2491-1-11 เลขที่ข้อตกลง 5/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการบูรณาการแก้ไขปัญหาและป้องกันยาเสพติด ตำบลกะลุวอเหนือ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการบูรณาการแก้ไขปัญหาและป้องกันยาเสพติด ตำบลกะลุวอเหนือ ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการบูรณาการแก้ไขปัญหาและป้องกันยาเสพติด ตำบลกะลุวอเหนือ ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกะลุวอเหนือ อำเภอเมืองนราธิวาส จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2491-1-11 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 85,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลกะลุวอเหนือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ด้วยปัจจุบันสถานการณ์การเผยแพร่ระบาดของยาเสพติด ยังคงระดับความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง รัฐบาลจึงกำหนดให้การป้องกันและแก้ไขยาเสพติด เป็นแนวนโยบายที่สำคัญและเร่งด่วนในการบริหารราชการแผ่นดิน โดยยึดหลัก "ผู้เสพ คือ ผู้ป่วยที่ต้องได้รับการบำบัดรักษา ผู้ค้า คือผู้ที่ต้องได้รับโทษตามกระบวนการยุติธรรม" ซึ่งกำหนดให้เร่งรัดปราบปรามการค้ายาเสพติด และป้องกันไม่ให้กลุ่มเสี่ยงเข้าไปเป็นเหยื่อของยาเสพติด โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนในสังคม ให้ร่วมดำเนินการในลักษณะบูรณาการ ควบคู่กับมาตรการทางกฎหมาย ซึ่งจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติดในประเทศไทย
จากข้อมูลการเข้ารับการบำบัด 4 เดือน ของตรวจคัดกรองเชิงรุกในพื้นที่เป้าหมายไข่แดงผู้รับผิดชอบงานได้วิเคราะห์กระบวนการคัดกรอง การบำบัด และระบบการติดตามดูแลผู้บำบัด พบว่า ผู้บำบัดไม่เข้ากระบวนการบำบัดตามวันและเวลาที่กำหนด ทำให้ขาดบำบัดเป็นจำนวนมาก ซึ่งส่งผลกระทบต่อตัวผู้บำบัด ครอบครัว ชุมชน และสังคม ดังนั้นผู้รับผิดชอบงานจึงได้พัฒนาระบบติดตามผู้ป่วยใช้ยาเสพ ติดเข้ารับการบำบัดฟื้นฟู และเพื่อให้เครือข่าย ทั้งภาคของสาธารณสุข ปกครอง ตำรวจ ท้องถิ่น มีส่วนร่วมในการติดตามผู้บำบัด ในชุมชมและเกิดความเข้าใจในกระบวนการดูแลผู้บำบัดจนเกิดประโยชน์สูงสุดกับผู้บำบัดในอนาคตในปี 2568 ได้ทบทนและหาวิธีการติดตามผู้บำบัด โดยใช้วิธีการโทรตามจากญาติและโทรหาตัวผู้บำบัดโดยตรง ทำให้จำนวนผู้บำบัด 101 ราย เข้าบำบัดตามนัดจำนวน 18 ราย คิดเป็นร้อยละ 17.28 % ไม่ตามนัดบำบัดจำนวน 35 ราย คิดเป็นร้อยละ 34.65 % ไม่ไปบำบัดตามนัดตั้งแต่ครั้งแรกจำนวน 48 ราย คิดเป็นร้อยละ 47.52 % โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกะลุวอเหนือและโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านสะปอม ได้เล็งเห็นความสำคัญของการดำเนินการแก้ไขปัญหา การแพร่ระบาดของยาเสพติดในชุมชน จึงได้ดำเนินการร่วมกับเจ้าหน้าตำรวจ สาธารณสุข ฝ่ายปกครอง และภาคีเครือข่ายในพื้นที่ โดยการมีส่วนร่วมสนับสนุน และเสริมสร้างให้ชุมชนเกิดความเข้มแข็ง เข้าใจ และรับรู้ปัญหาถึงพิษภัยที่เกิดขึ้นจากยาเสพติด ซึ่งมีผลกระทบต่อตนเอง ครอบครัว และชุมชน คือการบำบัดฟื้นฟูผู้ใช้ยาเสพติดโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน เป็นกระบวนการบำบัดฟื้นฟูที่สามารถทำได้ในชุมชน ซึ่งสามารถคัดกรองผู้เสพ แบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ “ผู้ใช้” ใช้เป็นครั้งคราว “ผู้เสพ” มีแนวโน้มเสพบ่อยขึ้น และ “ผู้ติด” หมกมุ่นในการเสพ โดยผู้ใช้และผู้เสพให้การดูแลแบบการบำบัดฟื้นฟูผู้ใช้ยาเสพติดโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน ส่วนผู้ติดมีปัญหาด้านสุขภาพกาย สุขภาพจิต ต้องส่งต่อสถานพยาบาล เพื่อการดูแลอย่างเหมาะสมตามสภาพปัญหาของผู้ป่วยตามสภาพปัญหาของผู้ป่วย จึงได้จัดทำโครงการบูรณาการแก้ไขปัญหาและป้องยาเสพติดตำบลกะลุวอเหนือ ประจำปีงบประมาณ 2568 ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อพัฒนาการดำเนินการแก้ไขปัญหายาเสพติดแบบบูรณาการครบวงจร
- 2. เพื่อเสริมสร้างความรู้ให้แก่เครือข่ายให้เกิดกระบวนการป้องกัน แก้ไข และการบำบัดยาเสพติดโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน เพิ่มประสิทธิภาพการติดตามผู้ผ่านการบำบัดยาเสพติด
- 3.เพื่อเสริมสร้างความรู้ผู้ใช้ยาเสพติดได้รับการพัฒนาทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคมและสามารถอยู่ร่วมกับคนในชุมชนได้โดยไม่ทำให้เดือดร้อน
- 4.เพื่อติดตามผู้ใช้ยาเสพยาเสพติดเข้ากระบวนการบำบัดรักษาในสถานพยาบาลครบ 4 เดือน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- โครงการบูรณาการแก้ไขปัญหาและป้องยาเสพติด ตำบลกะลุวอเหนือ ประจำปีงบประมาณ 2568
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 100 | |
กลุ่มวัยทำงาน | 250 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- เกิดกระบวนการป้องกัน แก้ไข และการบำบัดยาเสพติดโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน 2.ร้อยละ 80 ของเครือข่าย(เจ้าหน้าที่ตำรวจ/เจ้าหน้าที่ฝ่ายปกครอง/แกนนำ อสม./จนท.รพ.สต.)ได้รับความรู้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการติดตามผู้ผ่านการบำบัดยาเสพติด 3.ร้อยละ 80 ของผู้ใช้ยาเสพติดได้รับการพัฒนาทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคมและสามารถอยู่ร่วมกับคนในชุมชนได้โดยไม่ทำให้เดือดร้อน 4.ร้อยละ 80 ของการติดตามผู้ใช้ยาเสพยาเสพติดเข้ากระบวนการบำบัดรักษาในสถานพยาบาล ครบ 4 เดือน
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อพัฒนาการดำเนินการแก้ไขปัญหายาเสพติดแบบบูรณาการครบวงจร ตัวชี้วัด : 1.เพื่อพัฒนาการดำเนินการแก้ไขปัญหายาเสพติดแบบบูรณาการครบวงจร |
0.00 |
|
||
2 | 2. เพื่อเสริมสร้างความรู้ให้แก่เครือข่ายให้เกิดกระบวนการป้องกัน แก้ไข และการบำบัดยาเสพติดโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน เพิ่มประสิทธิภาพการติดตามผู้ผ่านการบำบัดยาเสพติด ตัวชี้วัด : 2. เพื่อเสริมสร้างความรู้ให้แก่เครือข่ายให้เกิดกระบวนการป้องกัน แก้ไข และการบำบัดยาเสพติดโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน เพิ่มประสิทธิภาพการติดตามผู้ผ่านการบำบัดยาเสพติด |
0.00 |
|
||
3 | 3.เพื่อเสริมสร้างความรู้ผู้ใช้ยาเสพติดได้รับการพัฒนาทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคมและสามารถอยู่ร่วมกับคนในชุมชนได้โดยไม่ทำให้เดือดร้อน ตัวชี้วัด : 3.เพื่อเสริมสร้างความรู้ผู้ใช้ยาเสพติดได้รับการพัฒนาทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคมและสามารถอยู่ร่วมกับคนในชุมชนได้โดยไม่ทำให้เดือดร้อน |
0.00 |
|
||
4 | 4.เพื่อติดตามผู้ใช้ยาเสพยาเสพติดเข้ากระบวนการบำบัดรักษาในสถานพยาบาลครบ 4 เดือน ตัวชี้วัด : 4.เพื่อติดตามผู้ใช้ยาเสพยาเสพติดเข้ากระบวนการบำบัดรักษาในสถานพยาบาลครบ 4 เดือน |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 350 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 100 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 250 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อพัฒนาการดำเนินการแก้ไขปัญหายาเสพติดแบบบูรณาการครบวงจร (2) 2. เพื่อเสริมสร้างความรู้ให้แก่เครือข่ายให้เกิดกระบวนการป้องกัน แก้ไข และการบำบัดยาเสพติดโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายในชุมชน เพิ่มประสิทธิภาพการติดตามผู้ผ่านการบำบัดยาเสพติด (3) 3.เพื่อเสริมสร้างความรู้ผู้ใช้ยาเสพติดได้รับการพัฒนาทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ และสังคมและสามารถอยู่ร่วมกับคนในชุมชนได้โดยไม่ทำให้เดือดร้อน (4) 4.เพื่อติดตามผู้ใช้ยาเสพยาเสพติดเข้ากระบวนการบำบัดรักษาในสถานพยาบาลครบ 4 เดือน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการบูรณาการแก้ไขปัญหาและป้องยาเสพติด ตำบลกะลุวอเหนือ ประจำปีงบประมาณ 2568
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการบูรณาการแก้ไขปัญหาและป้องกันยาเสพติด ตำบลกะลุวอเหนือ ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด นราธิวาส
รหัสโครงการ 68-L2491-1-11
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางดารณี นามะกุณา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......