กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการ อสม.เข้มแข็ง ชุมชนไร้โรค ในพื้นที่หมู่ 7 ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ
ประธานอาสาสมัครสาธารณสุข ม.7




ชื่อโครงการ โครงการ อสม.เข้มแข็ง ชุมชนไร้โรค ในพื้นที่หมู่ 7 ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา ปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 05/68 เลขที่ข้อตกลง 02/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการ อสม.เข้มแข็ง ชุมชนไร้โรค ในพื้นที่หมู่ 7 ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการ อสม.เข้มแข็ง ชุมชนไร้โรค ในพื้นที่หมู่ 7 ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา ปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการ อสม.เข้มแข็ง ชุมชนไร้โรค ในพื้นที่หมู่ 7 ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 05/68 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กุมภาพันธ์ 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 76,250.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ในปัจจุบัน คนไทยส่วนหนึ่งจะหันมาใส่ใจสภาวะสุขภาพด้วยการออกกำลังกายและรับประทานอาหารที่มีประโยชน์กันมากขึ้น แต่ก็ยังมีประชากรจำนวนไม่น้อยที่ละเลยการดูแลตนเองเนื่องจากสภาพสังคมและรูปแบบการใช้ชีวิตในด้านต่าง ๆ ที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้เกิดเป็นปัญหาเรื้อรังด้านสุขภาพ โดยเฉพาะกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง หรือ NCDs (Non-communicable diseases) ซึ่งเกิดจากพฤติกรรมการดำเนินชีวิตที่สามารถคร่าชีวิตคนไทยได้จำนวนมากในแต่ละปี โรคไม่ติดต่อ หรือ Non Communicable Diseases (NCDs) เป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่ง  ในประเทศไทย มีสาเหตุจากปัจจัยเสี่ยงหนึ่งปัจจัยหรือร่วมหลายปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยเสียงต้านพฤติกรรม ปัจจัยเสี่ยงค้านสิ่งแวดล้อมและปัจจัยเสี่ยงทางเมตาบอลิก กลุ่มโรค NCDs ที่เป็นปัญหาทาสำคัญทางสาธารณสุขของประเทศ ได้แก่ กลุ่มโรคหัวใจและหลอดเลือด (หมายถึง โรคหัวใจขาดเลือดโรคหลอดเลือดสมอง โรคความตันโลหิตสูง) โรคเบาหวาน โรคโตเรื้อรัง โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง และโรคมะเร็ง โรคไม่ติดต่อเรื้อรังถูกขับเคลื่อนการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรค สอดคล้องตามเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี นโยบายของประเทศและกระทรวงสาธารณสุข และแผนยุทธศาสตร์การป้องกันและควบคมโรคไม่ติดต่อปี (พ.ศ. 2565 - 2570) รวมแผนงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องโดยมี 4 มาตรการหลัก ได้แก่ (1) การนำชับเคลื่อนโยบายนอกจากนี้โรคที่คาดการณ์ว่าจะเกิดการระบาดกรมควบคุมโรคยังคงเฝ้าระวังโรคที่มีโอกาสเกิดการระบาดและส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน ไม่ว่าจะเป็นโรคตามฤดูกาล หรือโรคที่เป็นปัญหาเฉพาะกลุ่ม ประกอบด้วย 12 โรค ดังนี้ 1.โรคมือเท้าปาก 2.โรคหัด 3.โรคฝีดาษวานร 4.โรคเมลิออยโดสิส (ไข้ดิน) 5.โรคไข้ฉี่หนู 6.โรคไข้หูดับ 7.โรคไวรัสซิกา 8.โรคชิคุนกุนยา (ไข้ปวดข้อยุงลาย) 9.โรคซิฟิลิ ที่สามารถป้องกันที่เกิดจา การใช้มาตรการสาธารณสุขขับเคลื่อนและฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศไทยในทุกมิติพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพการแพทย์ปฐมภูมิทั้งเขตชุมชนและเขตเมือง จัดตั้งหน่วยบริการปฐมภูมิ และเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ 3,000 ทีม จังหวัดละ 1 อำเภอ สนับสนุนให้คนไทยทุกครอบครัว มีหมอประจำตัวครบ  3 คนโดยอสม.ของหมู่ที่ 7 ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา ปฏิบัติงานในชุมชนในบทบาท    หมอคนที่ 1 ประจำครอบครัว มีการดำเนินงานคัดกรองภาวะสุขภาพของทุกกลุ่มวัย (health screening)  คือ การค้นหาความเป็นไปได้ในการเกิดโรคหรือความผิดปกติในคนที่อาจยังไม่แสดงอาการของโรคหรือความผิดปกตินั้นๆ ออกมา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาโรคหรือปัจจัยสี่ยงที่อาจก่อให้เกิดโรคในระยะเริ่มแรกและการส่งเสริมสุขภาพในทุกกลุ่มวัยตั้งแต่แรกเกิด จนถึงวัยผู้สูงอายุ เพื่อให้ประชาชนในชุมชนได้ดำเนินชีวิต  ในสังคมได้อย่างปกติสุข มีสุขภาพกายและใจที่แข็งแรง ชุมชนเข้มแข็งไร้โรคภัย จากข้อมูลของอำเภอกรงปินังพบว่ามีอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง NCDs ที่เพิ่มสูงขึ้นทุกปี    ในปี 2565 มีจำนวนผู้ป่วย NCDs รายใหม่จำนวน 146รายปี 2566 มีจำนวนผู้ป่วย NCDs รายใหม่จำนวน 176 ราย (คิดเป็นร้อยละ )ปี 2567 มีจำนวนผู้ป่วย NCDs รายใหม่จำนวน243 ราย ซึ่งจะเห็นได้ว่ามีจำนวนเพิ่มขึ้นทุกๆปี และข้อมูลโรคที่ป้องกันได้ด้วยวัคซีน(หัด ไอกรน )ในอำเภอกรงปินัง พบว่าอัตราป่วยด้วยไอกรนและหัด ในปี 2566 197.61 ต่อแสนประชาการ และในปี 2567 243.56 ต่อแสนประชากร ซึ่งอัตราการเกิดโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ด้วยวัคซีนในอำเภอกรงปินัง สอดคล้องกับข้อมูลความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนในเด็ก 0-5 ปี ยังอยู่ในเกณฑ์ต่ำมากเมื่อเทียบกับอำเภออื่นๆในจังหวัดยะลา กลุ่มอาสาสมัครหมู่ที่ 7 ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จึงต้องมีการจัดกิจกรรมคัดกรองภาวะสุขภาพของกลุ่มวัยทำงาน และวัยผู้สูงอายุเพื่อค้นหากลุ่มเสี่ยงที่จะเกิดโรค NCDs และการติดตามเชิงรุกในพื้นที่หมู่ที่ 7 ตำบลกรงปินัง ในกลุ่มเด็กอายุ 0-5 ปี เพื่อให้ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ ซึ่งส่งผลให้ประชาชนในทุกกลุ่มวัยของหมู่ที่ 7 ตำบลกรงปินัง ได้รับการคัดกรองภาวะสุขภาพ และส่งเสริมสุขภาพได้อย่างทั่วถึง นำไปสู่สังคมและชุมชนที่ไร้โรค

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. 1.เพื่อเพิ่มศักยภาพของอสม.ในการดำเนินงานคัดกรองภาวะสุขภาพ และการส่งเสริมสขภาพของประชาชนทุกกลุ่มวัย

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงคณะทำงานและแกนนำสุขภาพในการดำเนินการโครงการ อสม.เข้มแข็ง ชุมชนไร้โรค ในพื้นที่หมู่7 ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา ปีงบประมาณ 2568
  2. กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้และพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพในการคัดกรองมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งลำไส้ใหญ่ ในกลุ่มประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป และกลุ่มผู้สูงอายุในพื้นที่หมู่ที่ 7 ตำบลกรงปินัง
  3. กิจกรรมที่ 3 จัดตั้งศูนย์คนไทยห่างไกลโรค NCDS ให้ความรู้และรณรงค์คัดกรองสุขภาพกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป และผู้สูงอายุ ในพื้นที่หมู่ที่ 7 ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา
  4. กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่อง การดูแลสุขภาพ เพื่อให้ห่างไกลโรคไม่ติดต่อ ในกลุ่มวัยทำงานและผู้สูงอายุ
  5. กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมการรณรงค์และติดตามการรับวัคซีนในเด็กอายุ 0-5 ปี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 150
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. เพิ่มศักยภาพแกนนำสุขภาพ มีความรู้ ทักษะ และความสามารถในการให้บริการด้านสาธารณสุขแก่ ชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
  2. พัฒนาระบบเฝ้าระวังและป้องกันโรค แกนนำสุขภาพสามารถช่วยติดตาม สอดส่อง และแจ้งเตือน โรคระบาดหรือปัญหาสุขภาพในพื้นที่ได้อย่างรวดเร็วและแม่นยำ
  3. เสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชน ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจด้านสุขภาพมากขึ้น นำไปสู่การดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัวได้ดีขึ้น
  4. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของชุมชน ชุมชนมีบทบาทในการดูแลสุขภาพร่วมกับ อสม. และหน่วยงานสาธารณสุข ทำให้เกิดความร่วมมือที่ดี
  5. พัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน ประชาชนมีสุขภาพที่ดีขึ้น ส่งผลให้คุณภาพชีวิตโดยรวมของชุมชนดีขึ้น

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 1. 1.เพื่อเพิ่มศักยภาพของอสม.ในการดำเนินงานคัดกรองภาวะสุขภาพ และการส่งเสริมสขภาพของประชาชนทุกกลุ่มวัย
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ100ของอสม.มีความรู้และความสามารถ ปฏิบัติงานตามแนวทางการคัดกรองภาวะสุขภาพของในประชาชนทุกกลุ่มวัย
0.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 250
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 150
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. 1.เพื่อเพิ่มศักยภาพของอสม.ในการดำเนินงานคัดกรองภาวะสุขภาพ และการส่งเสริมสขภาพของประชาชนทุกกลุ่มวัย

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 ประชุมชี้แจงคณะทำงานและแกนนำสุขภาพในการดำเนินการโครงการ อสม.เข้มแข็ง ชุมชนไร้โรค ในพื้นที่หมู่7  ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา ปีงบประมาณ 2568 (2) กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้และพัฒนาศักยภาพแกนนำสุขภาพในการคัดกรองมะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งลำไส้ใหญ่ ในกลุ่มประชาชนอายุ 35 ปีขึ้นไป และกลุ่มผู้สูงอายุในพื้นที่หมู่ที่ 7 ตำบลกรงปินัง (3) กิจกรรมที่ 3 จัดตั้งศูนย์คนไทยห่างไกลโรค NCDS ให้ความรู้และรณรงค์คัดกรองสุขภาพกลุ่มอายุ 35 ปีขึ้นไป และผู้สูงอายุ ในพื้นที่หมู่ที่ 7 ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา (4) กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมอบรมให้ความรู้ เรื่อง การดูแลสุขภาพ เพื่อให้ห่างไกลโรคไม่ติดต่อ ในกลุ่มวัยทำงานและผู้สูงอายุ (5) กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมการรณรงค์และติดตามการรับวัคซีนในเด็กอายุ 0-5 ปี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการ อสม.เข้มแข็ง ชุมชนไร้โรค ในพื้นที่หมู่ 7 ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 05/68

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( ประธานอาสาสมัครสาธารณสุข ม.7 )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด