กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ปลูกฝังจิตใต้สำนึก เพิ่มทักษะชีวิต ห่างไกลยาเสพติดเด็กและเยาวชนตำบลท่าเรือ ”
ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล



หัวหน้าโครงการ
นางสาวนูรฮูดา เตาวะโต




ชื่อโครงการ ปลูกฝังจิตใต้สำนึก เพิ่มทักษะชีวิต ห่างไกลยาเสพติดเด็กและเยาวชนตำบลท่าเรือ

ที่อยู่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง 19/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 24 มีนาคม 2568 ถึง 30 มิถุนายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"ปลูกฝังจิตใต้สำนึก เพิ่มทักษะชีวิต ห่างไกลยาเสพติดเด็กและเยาวชนตำบลท่าเรือ จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ปลูกฝังจิตใต้สำนึก เพิ่มทักษะชีวิต ห่างไกลยาเสพติดเด็กและเยาวชนตำบลท่าเรือ



บทคัดย่อ

โครงการ " ปลูกฝังจิตใต้สำนึก เพิ่มทักษะชีวิต ห่างไกลยาเสพติดเด็กและเยาวชนตำบลท่าเรือ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลท่าเรือ อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 24 มีนาคม 2568 - 30 มิถุนายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 8,218.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเรือ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สถานการณ์ในปัจจุบันเขตพื้นที่ตำบลท่าเรือได้ประสบกับปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดที่มีจำนวนผู้เสพยามากขึ้นเรื่อยๆ รวมถึงกลุ่มเสี่ยงอีกมากมาย และปัญหายาเสพติดมักเกิดในกลุ่มเด็กและเยาวชน ซึ่งถือเป็นกลุ่มที่ยังไม่มีภูมิคุ้มกันและทักษะในการใช้ชีวิตให้ห่างไกลจากยาเสพติดมากพอ ปัญหายาเสพติดเกิดจากหลายสาเหตุ สาเหตุจากตนเองความอยากรู้อยากลอง การอยากลองเสพติดด้วยตนเองหรือการถูกกระตุ้นจากบุคคลภายนอก เช่น เพื่อน หรือคนใกล้ตัวที่ใช้ยาเสพติด สาเหตุจากครอบครัว การที่คนในครอบครัวมีการใช้ยาเสพติดทำให้เด็กเกิดพฤติกรรมเลียนแบบ การเลี้ยงดูใส่ใจให้ความรัก พี่ไม่เพียงพอ หรือเกิดความรุนแรงในครอบครัว สาเหตุจากหลักการและเหตุผล (ระบุที่มาของการทำโครงการ)       สถานการณ์ในปัจจุบันเขตพื้นที่ตำบลท่าเรือได้ประสบกับปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติดที่มีจำนวนผู้เสพยามากขึ้นเรื่อยๆ รวมถึงกลุ่มเสี่ยงอีกมากมาย และปัญหายาเสพติดมักเกิดในกลุ่มเด็กและเยาวชน ซึ่งถือเป็นกลุ่มที่ยังไม่มีภูมิคุ้มกันและทักษะในการใช้ชีวิตให้ห่างไกลจากยาเสพติดมากพอ ปัญหายาเสพติดเกิดจากหลายสาเหตุ สาเหตุจากตนเองความอยากรู้อยากลอง การอยากลองเสพติดด้วยตนเองหรือการถูกกระตุ้นจากบุคคลภายนอก เช่น เพื่อน หรือคนใกล้ตัวที่ใช้ยาเสพติด สาเหตุจากครอบครัว การที่คนในครอบครัวมีการใช้ยาเสพติดทำให้เด็กเกิดพฤติกรรมเลียนแบบ การเลี้ยงดูใส่ใจให้ความรัก พี่ไม่เพียงพอ หรือเกิดความรุนแรงในครอบครัว สาเหตุจากความเครียด เรื่องเรียน การไม่เป็นที่ยอมรับในสังคม โรคซึมเศร้า สาเหตุจากสิ่งแวดล้อม สถานที่อยู่อาศัยเป็นชุมชนแออัดที่เป็นแหล่งค้าและเสพยาเสพติด อีกทั้งในปัจจุบันยาเสพติดนั้นมีหลายรูปแบบมากมาย เช่น บุหรี่ไฟฟ้า ซึ่งเป็นยาเสพติดที่เด็กและเยาวชนในปัจจุบันใช้เป็นจำนวนมาก ปัญหายาเสพติดนั้นยังมีผลกระทบทั้งสุขภาพรวมไปถึงครอบครัว ความปลอดภัยและความเป็นอยู่ของเด็กและเยาวชน การสร้างความรู้ความตระหนักจิตใต้สำนึก ทักษะในการใช้ชีวิตประจำวันในเรื่องการป้องกันยาเสพติด จึงเป็นแนวทางสำคัญในการลดการแพร่ระบาดของผู้เสพยาเสพติดหรือกลุ่มเสี่ยง โดยผ่านกระบวนการอบรมให้ความรู้และเน้นย้ำให้ตระหนักถึงอันตรายที่เกิดจากปัญหายาเสพติด การสร้างเด็กและเยาวชนให้ห่างไกลยาเสพติดไม่ยอมรับการใช้ยาเสพติดทุกรูปแบบ การสร้างสภาพแวดล้อมหรือเครือข่ายที่สนับสนุนให้เด็กและเยาวชนใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์สูงสุด และมีทักษะในการป้องกันและห่างไกลยาเสพติดเพื่อลดจำนวนการแพร่ระบาดของปัญหายาเสพติดในปัจจุบัน จากสาเหตุและผลกระทบของปัญหายาเสพติดที่กล่าวมาทั้งหมดนั้น สภาเด็กและเยาวชน จึงได้จัดทำโครงการ ปลูกฝังจิตใต้สำนึก เพิ่มทักษะชีวิต ห่างไกลยาเสพติดเด็กและเยาวชนตำบลท่าเรือ ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีทักษะในการใช้ชีวิตและภูมิคุ้มกันที่ดีและห่างไกลจากยาเสพติด
  2. ๒. เพื่อให้เด็กและเยาวชนตระหนักถึงผลกระทบและความอันตรายของยาเสพติดทุกชนิด
  3. เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนความรู้และหาแนวทางแก้ไขปัญหายาเสพติด

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. เด็กและเยาวชนมีทักษะในการใช้ชีวิตและภูมิคุ้มกันที่ดีและห่างไกลจากยาเสพติด ๒. เด็กและเยาวชนมีความตระหนักถึงผลกระทบและความอันตรายของยาเสพติดทุกชนิด ๓. เด็กและเยาวชนได้มีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนความรู้และหาแนวทางการแก้ไขปัญหายาเสพติด


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีทักษะในการใช้ชีวิตและภูมิคุ้มกันที่ดีและห่างไกลจากยาเสพติด
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 เด็กและเยาวชนมีทักษะในการใช้ชีวิตและภูมิคุ้มกันที่ดีและห่างไกลจากยาเสพติด

 

2 ๒. เพื่อให้เด็กและเยาวชนตระหนักถึงผลกระทบและความอันตรายของยาเสพติดทุกชนิด
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 เด็กและเยาวชนตระหนักถึงผลกระทบและความอันตรายของยาเสพติดทุกชนิด

 

3 เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนความรู้และหาแนวทางแก้ไขปัญหายาเสพติด
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 70 เด็กและเยาวชนมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนความรู้และหาแนวทางแก้ไขปัญหายา เสพติด

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 40
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 40
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีทักษะในการใช้ชีวิตและภูมิคุ้มกันที่ดีและห่างไกลจากยาเสพติด (2) ๒. เพื่อให้เด็กและเยาวชนตระหนักถึงผลกระทบและความอันตรายของยาเสพติดทุกชนิด (3) เพื่อส่งเสริมให้เด็กและเยาวชนมีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนความรู้และหาแนวทางแก้ไขปัญหายาเสพติด

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ปลูกฝังจิตใต้สำนึก เพิ่มทักษะชีวิต ห่างไกลยาเสพติดเด็กและเยาวชนตำบลท่าเรือ จังหวัด สตูล

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวนูรฮูดา เตาวะโต )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด