โครงการส่งเสริมทักษะทักษะชีวิตเพื่อนใจวัยทีนในสถานศึกษา
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมทักษะทักษะชีวิตเพื่อนใจวัยทีนในสถานศึกษา ”
หัวหน้าโครงการ
นายวินัย รัตนพันธ์ นายกเทศมนตรีเมืองบ้านพรุ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองบ้านพรุ
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมทักษะทักษะชีวิตเพื่อนใจวัยทีนในสถานศึกษา
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L5278-01-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2567 ถึง 20 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมทักษะทักษะชีวิตเพื่อนใจวัยทีนในสถานศึกษา จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองบ้านพรุ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมทักษะทักษะชีวิตเพื่อนใจวัยทีนในสถานศึกษา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมทักษะทักษะชีวิตเพื่อนใจวัยทีนในสถานศึกษา " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 68-L5278-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2567 - 20 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,720.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองบ้านพรุ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล
ช่วงอายุ 11 - 13 ปี ถือเป็นวัยรุ่นตอนต้น ซึ่งในแต่ละช่วงจะมีความกังวลในเรื่องต่าง ๆ ที่ต่างกัน ช่วงวัยนี้จะคำนึง ถึงการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายมากกว่าช่วงอื่น ๆ เช่น เมื่อเริ่มมีความเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย เด็กจะเกิดความกังวลฮอร์โมนเพิ่มขึ้น ร่างกายสูงใหญ่ขึ้น ในเด็กบางคนอาจเกิดความไม่มั่นใจ หรือรู้สึกว่า แขน ขา ยาว ไม่สมส่วน เสียงแตกอาจรู้สึกรำคาญตนเอง มีอารมณ์หงุดหงิดแปรปรวนได้ง่าย ในช่วงวัยนี้ เด็กจะเริ่มปรึกษาเพื่อนมากขึ้น หลีกเลี่ยงที่จะปรึกษา พ่อแม่ เพราะเด็กต้องการพัฒนาไปเป็นผู้ใหญ่ ต้องการคิดด้วยตนเอง และเริ่มมีความขัดแย้งกับพ่อแม่มากขึ้น เพราะต้องการการทดลองที่จะออกห่างจากพ่อแม่ โดยให้ความสำคัญกับเพื่อนมากขึ้น
ลักษณะพฤติกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะสมจะแตกต่างจากวัยเด็กอย่างชัดเจน ถ้าวัยนี้เรียนรู้ไปอย่างไรแล้ว มักจะเกิดพฤติกรรมติดตัว กลายเป็นนิสัยและบุคลิกภาพซึ่งจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ยากในภายหลัง วัยนี้จึงควรมีการเรียนรู้อย่างถูกต้องก่อนที่วัยรุ่นจะไปเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างผิดๆ และกลายเป็นพฤติกรรมที่เป็นปัญหาต่อไป เช่น ปัญหายาเสพติด หรือปัญหาทางเพศ ในปัจจุบันพบว่าวัยรุ่นเกิดปัญหาทางเพศขึ้นมาก เนื่องจากสภาพสังคมสิ่งแวดล้อม มีการกระตุ้นยั่วยุในเรื่องเพศอย่างมาก วัยรุ่นส่วนใหญ่จะได้รับข้อมูลจากสื่อที่ไม่เหมาะสม ทำให้เกิดพฤติกรรมทางเพศ ที่เป็นปัญหา เช่น การสำเร็จความใคร่ด้วยตนเองที่ไม่เหมาะสม การคบเพื่อนต่างเพศในวัยเรียนการมีเพศสัมพันธ์กันในวัยรุ่นการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น การทำแท้ง การมีเพศสัมพันธ์กับหญิงบริการทางเพศการเกิดโรคติดเชื้อจากเพศสัมพันธ์ การแต่งงานในวัยรุ่น การมีบุตรในวัยรุ่น การมีปัญหาครอบครัวในวัยรุ่น เป็นต้น
งานป้องกันและควบคุมโรค ฯ เทศบาลเมืองบ้านพรุ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมทักษะชีวิตเพื่อนใจวัยทีนในสถานศึกษา ประจำปี 2568 ขึ้น โดยดำเนินกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษของยาเสพติด เพศสัมพันธ์และการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยเรียน เพื่อเสริมทักษะชีวิตให้นักเรียนได้มีความรู้ สามารถปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงได้เหมาะสมกับวัย ดำเนินชีวิตอย่างมีความสุข และพัฒนาตนเองเป็นผู้มีบุคลิกภาพที่ดี พร้อมที่จะดำเนินชีวิตครอบครัวได้อย่างปลอดภัยเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดีต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้นักเรียนตระหนักถึงผลกระทบของปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติด และปัญหาด้านพฤติกรรมทางเพศ ที่ไม่เหมาะสม
2. เพื่อสนับสนุนให้นักเรียนมีความรู้เรื่อยาเสพติด โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยเรียน
3. เพื่อให้นักเรียนรู้จักบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม ไม่ใช้เวลาว่างไปมั่วสุมในสิ่งอบายมุข ยาเสพติดให้โทษ สื่อลามกอนาจาร
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมละลายพฤติกรรม "เธอกับฉันอยู่ร่วมกันอย่างไร ICe Breaking"
- กิจกรรมบรรยายเชิงปฏิบัติการฐานที่ 1 กิจกรรมบ้าน วัด โรงเรียน
- กิจกรรมละลายพฤติกรรม "เธอกับฉันอยู่ร่วมกันอย่างไร ICe Breaking"
- กิจกรรมบรรยายเชิงปฏิบัติการฐานที่ 1 กิจกรรมบ้าน วัด โรงเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
200
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจในโทษพิษภัยของยาเสพติด และปัญหาเพศศึกษาในโรงเรียน
2.การแพร่ระบาดของยาเสพติด และปัญหาทางเพศลดลงและหมดไปในที่สุด
3.เยาวชนรู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ต่อตนเองและสังคม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้นักเรียนตระหนักถึงผลกระทบของปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติด และปัญหาด้านพฤติกรรมทางเพศ ที่ไม่เหมาะสม
2. เพื่อสนับสนุนให้นักเรียนมีความรู้เรื่อยาเสพติด โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยเรียน
3. เพื่อให้นักเรียนรู้จักบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม ไม่ใช้เวลาว่างไปมั่วสุมในสิ่งอบายมุข ยาเสพติดให้โทษ สื่อลามกอนาจาร
ตัวชี้วัด :
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
200
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
200
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้นักเรียนตระหนักถึงผลกระทบของปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติด และปัญหาด้านพฤติกรรมทางเพศ ที่ไม่เหมาะสม
2. เพื่อสนับสนุนให้นักเรียนมีความรู้เรื่อยาเสพติด โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยเรียน
3. เพื่อให้นักเรียนรู้จักบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม ไม่ใช้เวลาว่างไปมั่วสุมในสิ่งอบายมุข ยาเสพติดให้โทษ สื่อลามกอนาจาร
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมละลายพฤติกรรม "เธอกับฉันอยู่ร่วมกันอย่างไร ICe Breaking" (2) กิจกรรมบรรยายเชิงปฏิบัติการฐานที่ 1 กิจกรรมบ้าน วัด โรงเรียน (3) กิจกรรมละลายพฤติกรรม "เธอกับฉันอยู่ร่วมกันอย่างไร ICe Breaking" (4) กิจกรรมบรรยายเชิงปฏิบัติการฐานที่ 1 กิจกรรมบ้าน วัด โรงเรียน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมทักษะทักษะชีวิตเพื่อนใจวัยทีนในสถานศึกษา จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L5278-01-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายวินัย รัตนพันธ์ นายกเทศมนตรีเมืองบ้านพรุ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมทักษะทักษะชีวิตเพื่อนใจวัยทีนในสถานศึกษา ”
หัวหน้าโครงการ
นายวินัย รัตนพันธ์ นายกเทศมนตรีเมืองบ้านพรุ
กันยายน 2568
ที่อยู่ จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L5278-01-02 เลขที่ข้อตกลง
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ธันวาคม 2567 ถึง 20 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมทักษะทักษะชีวิตเพื่อนใจวัยทีนในสถานศึกษา จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองบ้านพรุ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมทักษะทักษะชีวิตเพื่อนใจวัยทีนในสถานศึกษา
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมทักษะทักษะชีวิตเพื่อนใจวัยทีนในสถานศึกษา " ดำเนินการในพื้นที่ รหัสโครงการ 68-L5278-01-02 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ธันวาคม 2567 - 20 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 37,720.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองบ้านพรุ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
หลักการและเหตุผล ช่วงอายุ 11 - 13 ปี ถือเป็นวัยรุ่นตอนต้น ซึ่งในแต่ละช่วงจะมีความกังวลในเรื่องต่าง ๆ ที่ต่างกัน ช่วงวัยนี้จะคำนึง ถึงการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายมากกว่าช่วงอื่น ๆ เช่น เมื่อเริ่มมีความเปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย เด็กจะเกิดความกังวลฮอร์โมนเพิ่มขึ้น ร่างกายสูงใหญ่ขึ้น ในเด็กบางคนอาจเกิดความไม่มั่นใจ หรือรู้สึกว่า แขน ขา ยาว ไม่สมส่วน เสียงแตกอาจรู้สึกรำคาญตนเอง มีอารมณ์หงุดหงิดแปรปรวนได้ง่าย ในช่วงวัยนี้ เด็กจะเริ่มปรึกษาเพื่อนมากขึ้น หลีกเลี่ยงที่จะปรึกษา พ่อแม่ เพราะเด็กต้องการพัฒนาไปเป็นผู้ใหญ่ ต้องการคิดด้วยตนเอง และเริ่มมีความขัดแย้งกับพ่อแม่มากขึ้น เพราะต้องการการทดลองที่จะออกห่างจากพ่อแม่ โดยให้ความสำคัญกับเพื่อนมากขึ้น ลักษณะพฤติกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะสมจะแตกต่างจากวัยเด็กอย่างชัดเจน ถ้าวัยนี้เรียนรู้ไปอย่างไรแล้ว มักจะเกิดพฤติกรรมติดตัว กลายเป็นนิสัยและบุคลิกภาพซึ่งจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขได้ยากในภายหลัง วัยนี้จึงควรมีการเรียนรู้อย่างถูกต้องก่อนที่วัยรุ่นจะไปเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างผิดๆ และกลายเป็นพฤติกรรมที่เป็นปัญหาต่อไป เช่น ปัญหายาเสพติด หรือปัญหาทางเพศ ในปัจจุบันพบว่าวัยรุ่นเกิดปัญหาทางเพศขึ้นมาก เนื่องจากสภาพสังคมสิ่งแวดล้อม มีการกระตุ้นยั่วยุในเรื่องเพศอย่างมาก วัยรุ่นส่วนใหญ่จะได้รับข้อมูลจากสื่อที่ไม่เหมาะสม ทำให้เกิดพฤติกรรมทางเพศ ที่เป็นปัญหา เช่น การสำเร็จความใคร่ด้วยตนเองที่ไม่เหมาะสม การคบเพื่อนต่างเพศในวัยเรียนการมีเพศสัมพันธ์กันในวัยรุ่นการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น การทำแท้ง การมีเพศสัมพันธ์กับหญิงบริการทางเพศการเกิดโรคติดเชื้อจากเพศสัมพันธ์ การแต่งงานในวัยรุ่น การมีบุตรในวัยรุ่น การมีปัญหาครอบครัวในวัยรุ่น เป็นต้น งานป้องกันและควบคุมโรค ฯ เทศบาลเมืองบ้านพรุ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมทักษะชีวิตเพื่อนใจวัยทีนในสถานศึกษา ประจำปี 2568 ขึ้น โดยดำเนินกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับโทษของยาเสพติด เพศสัมพันธ์และการป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยเรียน เพื่อเสริมทักษะชีวิตให้นักเรียนได้มีความรู้ สามารถปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงได้เหมาะสมกับวัย ดำเนินชีวิตอย่างมีความสุข และพัฒนาตนเองเป็นผู้มีบุคลิกภาพที่ดี พร้อมที่จะดำเนินชีวิตครอบครัวได้อย่างปลอดภัยเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดีต่อไป
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้นักเรียนตระหนักถึงผลกระทบของปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติด และปัญหาด้านพฤติกรรมทางเพศ ที่ไม่เหมาะสม 2. เพื่อสนับสนุนให้นักเรียนมีความรู้เรื่อยาเสพติด โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยเรียน 3. เพื่อให้นักเรียนรู้จักบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม ไม่ใช้เวลาว่างไปมั่วสุมในสิ่งอบายมุข ยาเสพติดให้โทษ สื่อลามกอนาจาร
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมละลายพฤติกรรม "เธอกับฉันอยู่ร่วมกันอย่างไร ICe Breaking"
- กิจกรรมบรรยายเชิงปฏิบัติการฐานที่ 1 กิจกรรมบ้าน วัด โรงเรียน
- กิจกรรมละลายพฤติกรรม "เธอกับฉันอยู่ร่วมกันอย่างไร ICe Breaking"
- กิจกรรมบรรยายเชิงปฏิบัติการฐานที่ 1 กิจกรรมบ้าน วัด โรงเรียน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 200 | |
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจในโทษพิษภัยของยาเสพติด และปัญหาเพศศึกษาในโรงเรียน 2.การแพร่ระบาดของยาเสพติด และปัญหาทางเพศลดลงและหมดไปในที่สุด 3.เยาวชนรู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ต่อตนเองและสังคม
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้นักเรียนตระหนักถึงผลกระทบของปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติด และปัญหาด้านพฤติกรรมทางเพศ ที่ไม่เหมาะสม
2. เพื่อสนับสนุนให้นักเรียนมีความรู้เรื่อยาเสพติด โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยเรียน
3. เพื่อให้นักเรียนรู้จักบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม ไม่ใช้เวลาว่างไปมั่วสุมในสิ่งอบายมุข ยาเสพติดให้โทษ สื่อลามกอนาจาร ตัวชี้วัด : |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 200 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 200 | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้นักเรียนตระหนักถึงผลกระทบของปัญหาการแพร่ระบาดของยาเสพติด และปัญหาด้านพฤติกรรมทางเพศ ที่ไม่เหมาะสม
2. เพื่อสนับสนุนให้นักเรียนมีความรู้เรื่อยาเสพติด โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และปัญหาการตั้งครรภ์ในวัยเรียน
3. เพื่อให้นักเรียนรู้จักบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม ไม่ใช้เวลาว่างไปมั่วสุมในสิ่งอบายมุข ยาเสพติดให้โทษ สื่อลามกอนาจาร
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมละลายพฤติกรรม "เธอกับฉันอยู่ร่วมกันอย่างไร ICe Breaking" (2) กิจกรรมบรรยายเชิงปฏิบัติการฐานที่ 1 กิจกรรมบ้าน วัด โรงเรียน (3) กิจกรรมละลายพฤติกรรม "เธอกับฉันอยู่ร่วมกันอย่างไร ICe Breaking" (4) กิจกรรมบรรยายเชิงปฏิบัติการฐานที่ 1 กิจกรรมบ้าน วัด โรงเรียน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมทักษะทักษะชีวิตเพื่อนใจวัยทีนในสถานศึกษา จังหวัด
รหัสโครงการ 68-L5278-01-02
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายวินัย รัตนพันธ์ นายกเทศมนตรีเมืองบ้านพรุ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......