โครงการส่งเสริมความรู้เรื่องน้ำมันทอดซ้ำเพื่อความปลอดภัยของคนในชุมชน ปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมความรู้เรื่องน้ำมันทอดซ้ำเพื่อความปลอดภัยของคนในชุมชน ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
น.ส ซารีญา หลังลีงู
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาคร
สิงหาคม 2568
ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมความรู้เรื่องน้ำมันทอดซ้ำเพื่อความปลอดภัยของคนในชุมชน ปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L5290-02-05 เลขที่ข้อตกลง 09/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมความรู้เรื่องน้ำมันทอดซ้ำเพื่อความปลอดภัยของคนในชุมชน ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาคร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมความรู้เรื่องน้ำมันทอดซ้ำเพื่อความปลอดภัยของคนในชุมชน ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมความรู้เรื่องน้ำมันทอดซ้ำเพื่อความปลอดภัยของคนในชุมชน ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 68-L5290-02-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาคร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันการบริโภคอาหารทอดที่เพิ่มมากขึ้น จนผลิตภัณฑ์อาหารทอดต่างๆ กลายเป็นอาหารขายดี ทั้งในระดับชุมชนจนถึงห้างสรรพสินค้าขนาดใหญ่ มีการใช้น้ำมันทอดอาหารทั้งที่ทำจากสัตว์และพืช โดยเฉพาะน้ำมันพืชที่แต่ละปีประเทศไทยบริโภคถึงปีละ 800,000 ตัน ซึ่งข้อเท็จจริงพบว่าผู้ประกอบการอาหารทอด จะใช้น้ำมันในการทอดซ้ำหลายครั้ง จนลักษณะทางกายภาพของน้ำมันหรือคุณลักษณะของอาหารเสียไป จึงเปลี่ยนน้ำมันใหม่ หรือเติมน้ำมันใหม่ผสมลงไปทอดอาหารซ้ำๆต่อไป การเสื่อมสภาพของน้ำมันจากการทอดเกิดสารประกอบที่เป็นอันตรายต่อร่างกาย คือ “สารโพลาร์” ที่เป็นสาเหตุหนึ่งของโรคความดันโลหิตสูงหลอดเลือดหัวใจตีบ และโรคมะเร็ง ซึ่งในน้ำมันสำหรับทอดอาหาร กำหนดให้มีปริมาณสารโพลาร์ ไม่เกินร้อยละ 25 ของน้ำหนัก โดยการตรวจปริมาณสารโพลาร์ในน้ำมัน จะช่วยให้ผู้ประกอบการอาหารทอด ทราบเวลาที่ต้องเปลี่ยนน้ำมันของร้านตนเองที่ยังคงความปลอดภัย และลดต้นทุนตามสมควร นอกจากนี้ การป้องกันไม่ให้น้ำมันที่เสื่อมสภาพแล้วกลับมาสู่วงจรการบริโภค โดยนำไปผลิตเป็นน้ำมันไบโอดีเซลหรือนำไปใช้ในการผลิตสบู่ ซึ่งถือเป็นการใช้พลังงานอย่างคุ้มค่าและปลอดภัยที่ดีทางหนึ่งด้วย
ตำบลสาคร มีวัฒนธรรมการรับประทานอาหารทอดโดยแพร่หลาย เช่น อาหารเช้านิยมรับประทานข้าวเหนียวไก่ทอด ดื่มน้ำชา คู่กับขนมทอด เช่น ปาท่องโก๋ กล้วยทอด เป็นต้น จากสถานการณ์การตรวจน้ำมันทอดซ้ำ ในเขตตำบลสาคร ที่ผ่านมา เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคตำบลสาคร ยังมีการใช้น้ำมันทอดซ้ำอยู่ในพื้นที่ ดังนั้น เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคตำบลสาคร โดยความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐและภาคีเครือข่ายผู้บริโภคภาคประชาชนจังหวัดสตูล จึงได้จัดทำโครงการ “ความร่วมมือด้านการคุ้มครองผู้บริโภคเพื่อแก้ไขปัญหาน้ำมันทอดซ้ำในพื้นที่ตำบลสาคร ” เพื่อแก้ไขปัญหาน้ำมันทอดซ้ำในพื้นที่ตำบลสาคร”ขึ้น เพื่อจัดการระบบการนำน้ำมันทอดซ้ำกลับมาใช้ในกระบวนการห่วงโซ่อาหาร โดยอาศัยกลไกความร่วมมือด้านการคุ้มครองผู้บริโภค
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เกิดการจัดการน้ำมันทอดซ้ำในพื้นที่ตำบลสาคร
- เพื่อพัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการอาหารทอด ผู้ประกอบการรับซื้อน้ำมัน
- เพื่อส่งเสริมให้ความรู้และตระหนักเรื่องผลกระทบการใช้น้ำมันทอดซ้ำในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมโครงการ มีจิตสำนึกในการร้านในชุมชน
- ลดการใช้น้ำมันทอดซ้ำ
- ครัวเรือนมีความรู้ในที่ถูกต้องในเรื่องการบริโภคน้ำมันที่ทอดซ้ำ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
เพื่อให้เกิดการจัดการน้ำมันทอดซ้ำในพื้นที่ตำบลสาคร
ตัวชี้วัด : ไม่มีน้ำมันทอดซ้ำ หรือน้ำมันที่เหลือจากการทอดมแต่กระบวนการจัดการอย่างชัดเจน
2
เพื่อพัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการอาหารทอด ผู้ประกอบการรับซื้อน้ำมัน
ตัวชี้วัด : มีการพัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการอาหารทอด ผู้ประกอบการรับซื้อน้ำมัน
3
เพื่อส่งเสริมให้ความรู้และตระหนักเรื่องผลกระทบการใช้น้ำมันทอดซ้ำในชุมชน
ตัวชี้วัด : ได้ความรู้และตระหนักเรื่องผลกระทบการใช้น้ำมันทอดซ้ำ
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
30
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
30
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกิดการจัดการน้ำมันทอดซ้ำในพื้นที่ตำบลสาคร (2) เพื่อพัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการอาหารทอด ผู้ประกอบการรับซื้อน้ำมัน (3) เพื่อส่งเสริมให้ความรู้และตระหนักเรื่องผลกระทบการใช้น้ำมันทอดซ้ำในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการส่งเสริมความรู้เรื่องน้ำมันทอดซ้ำเพื่อความปลอดภัยของคนในชุมชน ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L5290-02-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( น.ส ซารีญา หลังลีงู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการส่งเสริมความรู้เรื่องน้ำมันทอดซ้ำเพื่อความปลอดภัยของคนในชุมชน ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
หัวหน้าโครงการ
น.ส ซารีญา หลังลีงู
สิงหาคม 2568
ที่อยู่ ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L5290-02-05 เลขที่ข้อตกลง 09/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 30 สิงหาคม 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการส่งเสริมความรู้เรื่องน้ำมันทอดซ้ำเพื่อความปลอดภัยของคนในชุมชน ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสตูล" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาคร ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมความรู้เรื่องน้ำมันทอดซ้ำเพื่อความปลอดภัยของคนในชุมชน ปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการส่งเสริมความรู้เรื่องน้ำมันทอดซ้ำเพื่อความปลอดภัยของคนในชุมชน ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลสาคร อำเภอท่าแพ จังหวัดสตูล รหัสโครงการ 68-L5290-02-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2568 - 30 สิงหาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 12,150.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สาคร เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ปัจจุบันการบริโภคอาหารทอดที่เพิ่มมากขึ้น จนผลิตภัณฑ์อาหารทอดต่างๆ กลายเป็นอาหารขายดี ทั้งในระดับชุมชนจนถึงห้างสรรพสินค้าขนาดใหญ่ มีการใช้น้ำมันทอดอาหารทั้งที่ทำจากสัตว์และพืช โดยเฉพาะน้ำมันพืชที่แต่ละปีประเทศไทยบริโภคถึงปีละ 800,000 ตัน ซึ่งข้อเท็จจริงพบว่าผู้ประกอบการอาหารทอด จะใช้น้ำมันในการทอดซ้ำหลายครั้ง จนลักษณะทางกายภาพของน้ำมันหรือคุณลักษณะของอาหารเสียไป จึงเปลี่ยนน้ำมันใหม่ หรือเติมน้ำมันใหม่ผสมลงไปทอดอาหารซ้ำๆต่อไป การเสื่อมสภาพของน้ำมันจากการทอดเกิดสารประกอบที่เป็นอันตรายต่อร่างกาย คือ “สารโพลาร์” ที่เป็นสาเหตุหนึ่งของโรคความดันโลหิตสูงหลอดเลือดหัวใจตีบ และโรคมะเร็ง ซึ่งในน้ำมันสำหรับทอดอาหาร กำหนดให้มีปริมาณสารโพลาร์ ไม่เกินร้อยละ 25 ของน้ำหนัก โดยการตรวจปริมาณสารโพลาร์ในน้ำมัน จะช่วยให้ผู้ประกอบการอาหารทอด ทราบเวลาที่ต้องเปลี่ยนน้ำมันของร้านตนเองที่ยังคงความปลอดภัย และลดต้นทุนตามสมควร นอกจากนี้ การป้องกันไม่ให้น้ำมันที่เสื่อมสภาพแล้วกลับมาสู่วงจรการบริโภค โดยนำไปผลิตเป็นน้ำมันไบโอดีเซลหรือนำไปใช้ในการผลิตสบู่ ซึ่งถือเป็นการใช้พลังงานอย่างคุ้มค่าและปลอดภัยที่ดีทางหนึ่งด้วย ตำบลสาคร มีวัฒนธรรมการรับประทานอาหารทอดโดยแพร่หลาย เช่น อาหารเช้านิยมรับประทานข้าวเหนียวไก่ทอด ดื่มน้ำชา คู่กับขนมทอด เช่น ปาท่องโก๋ กล้วยทอด เป็นต้น จากสถานการณ์การตรวจน้ำมันทอดซ้ำ ในเขตตำบลสาคร ที่ผ่านมา เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคตำบลสาคร ยังมีการใช้น้ำมันทอดซ้ำอยู่ในพื้นที่ ดังนั้น เครือข่ายคุ้มครองผู้บริโภคตำบลสาคร โดยความร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐและภาคีเครือข่ายผู้บริโภคภาคประชาชนจังหวัดสตูล จึงได้จัดทำโครงการ “ความร่วมมือด้านการคุ้มครองผู้บริโภคเพื่อแก้ไขปัญหาน้ำมันทอดซ้ำในพื้นที่ตำบลสาคร ” เพื่อแก้ไขปัญหาน้ำมันทอดซ้ำในพื้นที่ตำบลสาคร”ขึ้น เพื่อจัดการระบบการนำน้ำมันทอดซ้ำกลับมาใช้ในกระบวนการห่วงโซ่อาหาร โดยอาศัยกลไกความร่วมมือด้านการคุ้มครองผู้บริโภค
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- เพื่อให้เกิดการจัดการน้ำมันทอดซ้ำในพื้นที่ตำบลสาคร
- เพื่อพัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการอาหารทอด ผู้ประกอบการรับซื้อน้ำมัน
- เพื่อส่งเสริมให้ความรู้และตระหนักเรื่องผลกระทบการใช้น้ำมันทอดซ้ำในชุมชน
กิจกรรม/การดำเนินงาน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 30 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- ผู้เข้าร่วมโครงการ มีจิตสำนึกในการร้านในชุมชน
- ลดการใช้น้ำมันทอดซ้ำ
- ครัวเรือนมีความรู้ในที่ถูกต้องในเรื่องการบริโภคน้ำมันที่ทอดซ้ำ
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | เพื่อให้เกิดการจัดการน้ำมันทอดซ้ำในพื้นที่ตำบลสาคร ตัวชี้วัด : ไม่มีน้ำมันทอดซ้ำ หรือน้ำมันที่เหลือจากการทอดมแต่กระบวนการจัดการอย่างชัดเจน |
|
|||
2 | เพื่อพัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการอาหารทอด ผู้ประกอบการรับซื้อน้ำมัน ตัวชี้วัด : มีการพัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการอาหารทอด ผู้ประกอบการรับซื้อน้ำมัน |
|
|||
3 | เพื่อส่งเสริมให้ความรู้และตระหนักเรื่องผลกระทบการใช้น้ำมันทอดซ้ำในชุมชน ตัวชี้วัด : ได้ความรู้และตระหนักเรื่องผลกระทบการใช้น้ำมันทอดซ้ำ |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 30 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 30 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้เกิดการจัดการน้ำมันทอดซ้ำในพื้นที่ตำบลสาคร (2) เพื่อพัฒนาระบบฐานข้อมูลผู้ประกอบการอาหารทอด ผู้ประกอบการรับซื้อน้ำมัน (3) เพื่อส่งเสริมให้ความรู้และตระหนักเรื่องผลกระทบการใช้น้ำมันทอดซ้ำในชุมชน
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการส่งเสริมความรู้เรื่องน้ำมันทอดซ้ำเพื่อความปลอดภัยของคนในชุมชน ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สตูล
รหัสโครงการ 68-L5290-02-05
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( น.ส ซารีญา หลังลีงู )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......