กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านอุเผะ ประจำปี 2568 ”
ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา



หัวหน้าโครงการ





ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านอุเผะ ประจำปี 2568

ที่อยู่ ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 07/68 เลขที่ข้อตกลง 07/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านอุเผะ ประจำปี 2568 จังหวัดยะลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านอุเผะ ประจำปี 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านอุเผะ ประจำปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง จังหวัดยะลา รหัสโครงการ 07/68 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 82,400.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กรงปินัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ประกอบด้วย โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิต เป็นโรคเรื้อรังที่มีความสำคัญ เป็นปัญหาสาธารณสุขของทุกประเทศทั่วโลกรวมถึง ประเทศไทย และมีแนวโน้มจำนวนผู้ป่วยสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่5 พ.ศ. ๒๕๕๖-๒๕๕๗ และครั้งที่ ๖ พ.ศ ๒๕๖๒ – ๒๕๖๓ ในประชากรไทยอายุ ๑๕ ปีขึ้นไป พบว่าความชุกของโรคเบาหวาน เพิ่มขึ้นจากร้อยละ ๘.๘ เป็นร้อยละ ๙.๕ ความชุกของโรคความดันโลหิตสูง เพิ่มขึ้นจากร้อยละ ๒๔.๗  เป็นร้อยละ ๒๕.๔ โดยในจำนวนคนที่เป็นความดันโลหิตสูงนั้น สัดส่วนของผู้ที่ไม่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นจากร้อยละ ๔๔.๗ เป็นร้อยละ ๔๘.๘ และสัดส่วนที่ได้รับการรักษาแต่ควบคุมไม่ได้ตามเกณฑ์เพิ่มจากร้อยละ ๒๐.๑ เป็น ๒๕.๐ สภาพปัญหาโรคบาหวาน ความดันโลหิตสูง เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอกรงปินังพบว่า มีผู้ป่วยเบาหวานจำนวน 810 คน เป็นผู้ป่วยเบาหวานรายใหม่ปี ๒๕๖๕-๒๕๖๗ จำนวน ๑๐๗,๗๘ และ ๘๙ คนตามลำดับ ซึ่งพบผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลได้ HbA1c มากกว่าร้อยละ 7 มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น ปี ๒๕๖๕-๒๕๖๗ มีผู้ป่วยเบาหวานควบคุมระดับน้ำตาลได้ดีเพียง ร้อยละ ๒๘.๒๒ , ๒๓.๗๙ และ ๒๗.๑๑ ตามลำดับ จำนวนผู้ป่วยความดันโลหิตสูง  มีจำนวน ๒,๑๖๘ คนเป็นผู้ป่วยความดันโลหิตสูงรายใหม่ปี ๒๕๖๕-๒๕๖๗ จำนวน ๒๑๐ , ๒๓๕ และ ๑๗๗ คนตามลำดับ พบผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่สามารถคุมความดันได้ ร้อยละ ๖๐ ๕๓ , ๕๐.๖๒ และ ๕๖.๘๔ ตามลำดับ
การได้รับความร่วมมือในการรักษาจากผู้ป่วย มีส่วนสำคัญต่อการควบคุมโรคให้ได้ตามมาตรฐาน และความรู้ในเรื่องโรคมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง ได้แก่ อาการและภาวะแทรกซ้อน การปฏิบัติตัวในการจัดการตนเองในสภาวะต่างๆเพื่อควบคุมโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง นอกจากนี้ความเชื่อด้านสุขภาพเรื่องโรค ความเชื่อต่อโอกาสเสี่ยงของโรค ความเชื่อต่อความรุนแรงของโรค ความเชื่อต่อผลดีของการปฏิบัติตามคำแนะนำ แรงจูงใจที่จะปฏิบัติตาม และการจัดกิจกรรมที่เน้นให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วม จะส่งผลให้เกิดการเรียนรู้มากขึ้นซึ่งจากการประเมินความรู้ด้านสุขภาพ ๓อ๒ส ในสถานบริการในปี ๒๕๖๗

                                                    / ในกลุ่มโรคไม่ติดต่อ...


ในกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่มารับบริการที่คลินิกโรคเรื้อรัง ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอุเผะ จำนวน 15๐ รายพบว่ามีปัจจัยด้านพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสมจำนวน 98 ราย เป็นปัญหาที่พบมากที่สุดรองลงมา คือ การขาดออกกำลังกาย 102 ราย และด้านอารมณ์ 78 รายคิดเป็นร้อยละ 65.3, 68 และ 52 ตามลำดับ       ดังนั้นกลุ่มงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ประจำโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอุเผะ ตำบลกรงปินัง อำเภอกรงปินัง ได้เล็งเห็นความสำคัญนี้จึงได้เกิดการทบทวนพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง  จึงได้จัดโครงการพัฒนาคุณภาพผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านอุเผะ ประจำปี ๑๕๖๘ เพื่อให้ได้มาซึ่งผลลัพธ์ทางสุขภาพของผู้ป่วยที่มีประสิทธิผล คือสามารถควบคุมโรคได้ดียิ่งขึ้น และจะเป็นแนวทางสำคัญในการปรับปรุงรูปแบบการส่งเสริมดูแลสุขภาพในการดำเนินงานโรคต่อไป 2. วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัด 2.1) ร้อยละ ๘๐ ของผู้ป่วยเบาหวาน/ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่เข้าอบรมมีความรู้เรื่องการปฏิบัติตัว3อ2ส   2.2) ร้อยละ 5๐ ของผู้ป่วยเบาหวาน/ผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ที่มีความรู้เรื่องการปฏิบัติตัว มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการรับประทานอาหาร และปฏิบัติการออกกำลังกาย   3.3) ร้อยละ ๔๐ ของผู้ป่วยเบาหวานที่เข้าร่วมอบรมสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดีภายใน 3 เดือน จากการติดตามในกิจกรรมที่ 2 ในโครงการ และ 6 เดือนจากการติดตามในคลินิก NCD Remission ของสถานบริการ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

 

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมที่ 1 เชิงปฏิบัติการจัดกระบวนการเรียนรู้ นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยโดยการเข้าฐาน
  2. กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมประชุมติดตามประเมินผลด้านสุขภาพหลังอบรม 3 เดือน โดยประเมินจากค่าน้ำหนัก ค่า BMI องค์ประกอบในร่างกายซ้ำ เปรียบเทียบกับครั้งแรก มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างไรหลังจากนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปปฏิบัติใช้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 60
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

7.1 มีการพัฒนาคุณภาพงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ รพ.สต.บ้านอุเผะ ตามเกณฑ์ NCD Remission   7.2 ผู้ป่วยเบาหวาน/ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงมีพฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึ้น     7.3 ผู้ป่วยเบาหวานสามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้     7.3 ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงสามารถควบคุมความดันได้และมีความเสี่ยง CVD ลดลง


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 60
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 เชิงปฏิบัติการจัดกระบวนการเรียนรู้ นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้ป่วยโดยการเข้าฐาน (2) กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมประชุมติดตามประเมินผลด้านสุขภาพหลังอบรม 3 เดือน  โดยประเมินจากค่าน้ำหนัก ค่า BMI องค์ประกอบในร่างกายซ้ำ เปรียบเทียบกับครั้งแรก มีการเปลี่ยนแปลงเป็นอย่างไรหลังจากนำความรู้ที่ได้รับจากการอบรมไปปฏิบัติใช้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านอุเผะ ประจำปี 2568 จังหวัด ยะลา

รหัสโครงการ 07/68

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด