กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการรู้ทันพิษภัยบุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้า คุกคามสุขภาพของเด็กและเยาวชนตำบลมะนังยง ”
ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นางกูรอซีดะ บูละ




ชื่อโครงการ โครงการรู้ทันพิษภัยบุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้า คุกคามสุขภาพของเด็กและเยาวชนตำบลมะนังยง

ที่อยู่ ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L3046-02-07 เลขที่ข้อตกลง 08/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการรู้ทันพิษภัยบุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้า คุกคามสุขภาพของเด็กและเยาวชนตำบลมะนังยง จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะนังยง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการรู้ทันพิษภัยบุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้า คุกคามสุขภาพของเด็กและเยาวชนตำบลมะนังยง



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการรู้ทันพิษภัยบุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้า คุกคามสุขภาพของเด็กและเยาวชนตำบลมะนังยง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3046-02-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,550.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะนังยง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัญหาการสูบบุหรี่ในพื้นที่ตำบลมะนังยงคาดว่าจะเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะอายุของนักสูบใหม่ที่มีแนวโน้มเพิ่มสูงงขึ้น ซึ่งการสูบบุหรี่เป็นอันตรายต่อสุขภาพเพิ่มความเสี่ยงการเกิดโรคมะเร็งปอด ช่องปาก หลอดอาหาร ตับอ่อน โรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ กระตุ้นให้มีการหลั่งฮอร์โมนคอร์ติซอลเพิ่มขึ้น ทำให้น้ำตาลในเลือดเพิ่มขึ้น เป็นสาเหตุของโรคเบาหวาน กระตุ้นจำนวนเซลล์ผนังหลอดเลือดเพิ่มขึ้น ทำให้เส้นเลือดตีบ เพิ่มความเสี่ยงโรคหัวใจ และหลอดเลือดสมอง ส่งผลกระทบต่อสังคมอย่างกว้างขวางและเป็นสาเหตุสำคัญของการเจ็บป่วยและเสียชีวิตก่อนวัยอันควร ปัจจุบันบุหรี่ไฟฟ้าเป็นสิ่งเสพติดที่ระบาดในกลุ่มเด็กและเยาวชน ในบุหรี่ไฟฟ้าจะมีสารนิโคตินที่ใช้การทำให้สารน้ำเกิดความร้อน และระเหยเป็นไอน้ำมาให้สูด/สูบ โดยที่ไม่เกิดควันจากการเผาไหม้ ผลิตภัณฑ์บุหรี่ไฟฟ้าในตลาดมากกว่าร้อยละ 95 มีสารนิโคตินเป็นส่วนผสมอยู่ในน้ำยาบุหรี่ไฟฟ้า การสูบบุหรี่ไฟฟ้าทำให้ติดสารนิโคตินได้ และในส่วนละอองควัน ที่สูดเข้าปอดนอกจากมีสารนิโคตินแล้วยังพบสารเคมีจำนวนมากที่ใช้ในกระบวนการผลิตและปรุงแต่กลิ่นรส เช่น แอลดีไฮด์โพลีไซคลิค อะชิโตนและโครเมียม ซึ่งสารเคมีเหล่านั้นล้วนแต่เป็นอันตรายต่อร่างกาย รวมทั้งเป็นสารก่อให้เกิดมะเร็ง จากการสำรวจเด็กและเยาวชนพื้นที่ตำบลมะนังยง อำเภอยะหริ่ง จังหวัดปัตตานี มีพฤติกรรมการสูบยาสูบ บุหรี่ และบุหรี่ไฟฟ้า สามารถสูบบุหรี่ได้ทุกสถานที่ ไม่มีพื้นที่กำหนดเฉพาะ จึงมีโอกาสเสี่ยงที่ทำให้มีผู้สูบบุหรี่รายใหม่เพิ่มขึ้น และผู้ที่สูบบุหรี่อยู่ก่อนแล้วมีโอกาสสูบติดต่อจำนวนหลายมวนด้วยความเคยชิน และประเด็นสำคัญคือทำให้ผู้ที่อยู่รอบข้างได้รับพิษควันบุหรี่ ซึ่งมีภาวะเสี่ยงทำให้เกิดโรคไม่แตกต่างจากคนสูบบุหรี่หรืออาจจะมากกว่าคนสูบบุหรี่ แต่ทั้งนี้ทั้งนั้นจะต้องมีส่วนร่วมจากสมาชิกในครัวเรือนโดยเฉพาะพ่อแม่หรือผู้ปกครองเพื่อปกป้องเด็กและเยาวชนมิให้ตกเป็นเหยื่อของธุรกิจบุหรี่ไฟฟ้า และไม่ยุ่งเกี่ยวหรืออยากทดลองใช้บุหรี่ไฟฟ้าซึ่งมีสารพิษ เสพติดและอันตราย ทั้งนี้ดังนั้นชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลมะนังยง เล็งเห็นปัญหาที่จะตามมาในอนาคตจึงได้จัดทำโครงการรู้ทันพิษภัยบุหรี่ บุหรี่ไฟฟ้า ของเด็กและเยาวชนตำบลมะนังยง ขึ้น เพื่อเป็นการลดเด็กและเยาวชนในชุมชนที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดการสูบยาสูบในเด็กและเยาวชนอายุ 15- 25 ปี ในชุมชน
  2. เพื่อลดเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปีในชุมชน ที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด
  3. ผู้ปกครองมีความรู้ในเรื่องบุหรี่ไฟฟ้า และสิ่งเสพติดบางประเภท

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมวางแผนการดำเนินงาน
  2. กิจกรรมอบรม/บรรยายให้ความรู้
  3. กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์
  4. กิจกรรมติดตามผลและสรุปโครงการ
  5. กิจกรรมวางแผนการดำเนินงาน
  6. กิจกรรมอบรม/บรรยายให้ความรู้
  7. กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ทำให้ลดจำนวนเด็กและเยาวชนในการเสพสิ่งเสพติด(บุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้า)
  2. ทำให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และสามารถนำไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวิตประจำวันได้

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดการสูบยาสูบในเด็กและเยาวชนอายุ 15- 25 ปี ในชุมชน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของการสูบยาสูบในเด็กและเยาวชนอายุ 15- 25 ปี ในชุมชน
7.00 5.00

 

2 เพื่อลดเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปีในชุมชน ที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด
ตัวชี้วัด : ร้อยละของเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปีในชุมชน ที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด
10.00 7.00

 

3 ผู้ปกครองมีความรู้ในเรื่องบุหรี่ไฟฟ้า และสิ่งเสพติดบางประเภท
ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้ปกครองไม่มีความรู้ในเรื่องบุหรี่ไฟฟ้า และสิ่งเสพติดบางประเภท
50.00 40.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 60
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดการสูบยาสูบในเด็กและเยาวชนอายุ 15- 25 ปี ในชุมชน (2) เพื่อลดเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปีในชุมชน ที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด (3) ผู้ปกครองมีความรู้ในเรื่องบุหรี่ไฟฟ้า และสิ่งเสพติดบางประเภท

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมวางแผนการดำเนินงาน (2) กิจกรรมอบรม/บรรยายให้ความรู้ (3) กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์ (4) กิจกรรมติดตามผลและสรุปโครงการ (5) กิจกรรมวางแผนการดำเนินงาน (6) กิจกรรมอบรม/บรรยายให้ความรู้ (7) กิจกรรมรณรงค์ประชาสัมพันธ์

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการรู้ทันพิษภัยบุหรี่และบุหรี่ไฟฟ้า คุกคามสุขภาพของเด็กและเยาวชนตำบลมะนังยง จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L3046-02-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางกูรอซีดะ บูละ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด