กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูเเลผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูเเลฟื้นฟูสมรรถภาพ ”
ตำบลเขาขาว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง



หัวหน้าโครงการ
นางศศิธร เกตุประกอบ




ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูเเลผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูเเลฟื้นฟูสมรรถภาพ

ที่อยู่ ตำบลเขาขาว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ L1527-01-04-68 เลขที่ข้อตกลง 4/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูเเลผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูเเลฟื้นฟูสมรรถภาพ จังหวัดตรัง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลเขาขาว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาขาว ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูเเลผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูเเลฟื้นฟูสมรรถภาพ



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูเเลผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูเเลฟื้นฟูสมรรถภาพ " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลเขาขาว อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง รหัสโครงการ L1527-01-04-68 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 14,380.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาขาว เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สังคมผู้สูงอายุ (Ageing Society) เป็นแนวโน้มที่ทุกชาติหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยองค์การสหประชาชาติคาดการณ์ไว้ว่าจะมีประชากรที่มีอายุมากกว่า 60 ปี ถึง 1,200 ล้านคน พ.ศ.2568 และ 2,000 ล้านคน ในปีพ.ศ.2593 หรือคิดเป็นร้อยละ 20 ของประชากรโลกทั้งหมด สำหรับประเทศไทยในปีพ.ศ.2563 มีประชากรผู้สูงอายุถึงร้อยละ 18.24 ของประชากรทั้งประเทศและมีแนวโน้มการเพิ่มขึ้นของประชากรผู้สูงอายุ 3.6 ต่อปี (คิดเป็น 400,000 คนต่อปี) ซึ่งตามการคาดประมาณการประชากรประเทศไทยของสำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) (ฉบับปรับปรุงพ.ศ.2562) คาดการณ์ว่าในปีพ.ศ.2566 จะมีประชากรผู้สูงอายุถึงร้อยละ 20.66 ของประชากรทั้งประเทศ และในปีพ.ศ.2578 จะมีประชากรผู้สูงอายุถึงร้อยละ 28.55 ของประชากรทั้งประเทศ การเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องของผู้สูงอายุ จำนวนวัยทำงานและวัยแรกเกิดลดลงย่อมส่งผลกระทบต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทย อัตราการพึ่งพิงในปีพ.ศ.2560 พบว่า ประชากรวัยทำงาน 100 คน จะต้องรับภาระประชากรสูงอายุและวัยเด็ก 51 คนและคาดว่าเพิ่มขึ้นเป็น 64 คนในปีพ.ศ.2570 จากการรายงานการประเมินและคัดกรองสุขภาพจำแนกตามความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุ โดยกระทรวงสาธารณสุขผ่านระบบคลังข้อมูลด้านการแพทย์และสุขภาพ (Health Data Center : HDC ) ข้อมูล ณ วันที่ 17 พฤศจิกายน 2566 พบว่า เป็นกลุ่มติดสังคมร้อยละ 96.76 ติดบ้านร้อยละ 2.63 และติดเตียงร้อยละ 0.61 ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุที่พบมักเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังร้อยละ 33.11 ภาวะสมองเสื่อมร้อยละ 0.88 และภาวะหกล้มร้อยละ 3.12 ในปีพ.ศ.2560 มีผู้เสียชีวิตจากการพลัดตกหกล้มถึง 2,018 คน หรือเฉลี่ยวันละ 6 คน ซึ่งเป็นกลุ่มผู้สูงอายุมากถึง 1,046 คน หรือเฉลี่ยวันละ 3 คน และร้อยละ 50 ผู้สูงอายุที่ได้รับการรักษาจากการหกล้มเสียชีวิตใน 1 ปี (กรมควบคุมโรค,เมษายน 2562) จังหวัดตรัง จากการรายงานการประเมินและคัดกรองสุขภาพจำแนกตามความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุ โดยกระทรวงสาธารณสุข ผ่านระบบคลังข้อมูลด้านการแพทย์และสุขภาพ (Health Data Center : HDC ) ข้อมูล ณ วันที่ 17 พฤศจิกายน 2566 พบว่า เป็นกลุ่มติดสังคมร้อยละ 97.33 ติดบ้านร้อยละ 1.97 และติดเตียงร้อยละ 0.70 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาขาว จากรายงานผลการประเมินและคัดกรองสุขภาพจำแนกตามความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุ โดยกระทรวงสาธารณสุขผ่านระบบคลังข้อมูลด้านการแพทย์และสุขภาพ (Health Data Center : HDC) ข้อมูลปีงบประมาณ  2565 – 2567 ในปีงบประมาร 2568 พบว่า เป็นกลุ่มติดสังคมร้อยละ 96.76 ติดบ้านร้อยละ 1.62 และติดเตียงร้อยละ 1.62 ปีงบประมาณ 2566 พบว่า เป็นกลุ่มติดสังคมร้อยละ 96.31 ติดบ้านร้อยละ 0.99 และติดเตียงร้อยละ 2.15 และปีงบประมาณ 2567 พบว่า เป็นกลุ่มติดสังคมร้อยละ 96.31 ติดบ้านร้อยละ 1.43 และติดเตียงร้อยละ 2.70 จากข้อมูลพบว่าผู้สูงอายุมีแนวโน้มติดเตียงเพิ่มขึ้นทุกปี โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเขาขาวเล็งเห็นถึงความสำคัญในการส่งเสริมฟื้นฟูสุขภาพและพัฒนาศักยภาพในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะติดบ้าน เพื่อป้องกันภาวะติดเตียงที่อาจเกิดขึ้นตามมา จึงจัดทำโครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูแลผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูแลฟื้นฟูสมรรถภาพ ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงได้รับการส่งเสริมความรู้เเละพัฒนาศักยภาพในการดูเเลตนเองที่ถูกต้อง
  2. เพื่อฟื้นฟูความรู้ พัฒนาศักยภาพของผู้ดูเเลผู้สูงอายุ

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงด้านสุขภาพ
  2. กิจกรรมอบรมฟื้นฟูความรู้เเก่ผู้ดูเเลผู้สูงอายุ
  3. อบรมผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงด้านสุขภาพ
  4. อบรมฟื้นฟูความรู้เเก่ผู้ดูเเลผู้สูงอายุ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 35
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.ผู้สูงอายุได้รับการส่งเสริมคุณภาพชีวิตในด้านต่างๆ 2.เพื่อลดภาวะติดบ้านติดเตียงที่อาจเกิดขึ้นเเละลดค่าใช้จ่ายในการดูเเลระยะยาว 3.ผู้ดูเเลผู้สูงอายุมีความรู้ที่ถูกต้องในการดูเเลฟื้นฟูสมรรถภาพ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงได้รับการส่งเสริมความรู้เเละพัฒนาศักยภาพในการดูเเลตนเองที่ถูกต้อง
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 90 ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงได้รับการส่งเสริมความรู้เเละพัฒนาศักยภาพในการดูเเลตนเองที่ถูกต้อง
90.00

 

2 เพื่อฟื้นฟูความรู้ พัฒนาศักยภาพของผู้ดูเเลผู้สูงอายุ
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 100 ของผู้ดูเเลผู้สูงอายุ (Care Giver) เเละบริบาลผู้สูงอายุ
100.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 35
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 35
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงได้รับการส่งเสริมความรู้เเละพัฒนาศักยภาพในการดูเเลตนเองที่ถูกต้อง (2) เพื่อฟื้นฟูความรู้ พัฒนาศักยภาพของผู้ดูเเลผู้สูงอายุ

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงด้านสุขภาพ (2) กิจกรรมอบรมฟื้นฟูความรู้เเก่ผู้ดูเเลผู้สูงอายุ (3) อบรมผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงด้านสุขภาพ (4) อบรมฟื้นฟูความรู้เเก่ผู้ดูเเลผู้สูงอายุ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาศักยภาพผู้ดูเเลผู้ป่วยที่ต้องได้รับการดูเเลฟื้นฟูสมรรถภาพ จังหวัด ตรัง

รหัสโครงการ L1527-01-04-68

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางศศิธร เกตุประกอบ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด