โครงการเตรียมความพร้อมก่อนตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธ์ุ รพ.สต.บ้านวังตง ปี 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการเตรียมความพร้อมก่อนตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธ์ุ รพ.สต.บ้านวังตง ปี 2568 ”
ในเขต รพ.สต.บ้านวังตง
หัวหน้าโครงการ
นายอภิชาติ ปัจฉิมศิริ ผอ.รพ.สต.บ้านวังตง นางสุรัชดา อุมายี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการเตรียมความพร้อมก่อนตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธ์ุ รพ.สต.บ้านวังตง ปี 2568
ที่อยู่ ในเขต รพ.สต.บ้านวังตง จังหวัด
รหัสโครงการ L5294 เลขที่ข้อตกลง 10/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเตรียมความพร้อมก่อนตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธ์ุ รพ.สต.บ้านวังตง ปี 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ในเขต รพ.สต.บ้านวังตง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเตรียมความพร้อมก่อนตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธ์ุ รพ.สต.บ้านวังตง ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเตรียมความพร้อมก่อนตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธ์ุ รพ.สต.บ้านวังตง ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ในเขต รพ.สต.บ้านวังตง รหัสโครงการ L5294 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,380.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ภาวะโลหิตจางเป็นความผิดปกติทางระบบเลือดที่ส่งผลให้การสร้างเม็ดเลือดแดงน้อยลง เกิดจากหลายสาเหตุทั้งความผิดปกติทางกรรมพันธุ์ ภาวะขาดสารอาหารและโรคติดเชื้อ โดยพบบ่อยที่สุดในหญิงตั้งครรภ์ สาเหตุสำคัญของภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ คือ การขาดสารอาหารจากธาตุเหล็กและกรดโฟลิก (ชลธิชา ดานา, 2560) ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนของมารดาและทารก เช่น มารดาเสี่ยงต่อการตกเลือดหลังคลอด ทารกเสี่ยงต่อคลอดก่อนกำหนด ทารกแรกคลอดมีน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม หญิงตั้งครรภ์ที่่มีภาวะโลหิตจางอย่างรุนแรงจะมีโอกาสเสี่ยงต่อการตกเลือดในระหว่างคลอด และมีโอกาสติดเชื้อในระยะหลังคลอดสูง พัฒนาการไม่สมบูรณ์ และภาวะตายในครรภ์ ฯลฯ จากรายงานของงานอนามัยแม่และเด็ก พบว่าสาเหตุการตายของมารดา อันดับหนึ่ง คือ ภาวะตกเลือดหลังคลอด ซึ่งปัญหาดังกล่าว เป็นปัญหาทางสาธารณสุขของประเทศที่กำลังพัฒนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศแถบเอเชียใต้ พบได้มากสุดถึงร้อยละ 65 (WHO, 2019: Online) ในประเทศไทย ผลสำรวจภาวะโลหิตจางในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ พ.ศ.2561 – 2563 พบว่ามีแนวโน้มสูงขึ้น ในปี พ.ศ. 2561-2562 หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจาง ร้อยละ 16.06 และ 16.43 ตามลำดับ (HDC,2563) กระทรวงสาธารณสุขจึงได้กำหนดให้มีการตรวจคัดกรองภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ทุกราย ให้ยาบำรุงเสริมธาตุเหล็กและให้ความรู้เรื่องการบริโภคอาหาร การดูแลและการส่งเสริมสุขภาพในหญิงตั้งครรภ์ ทำให้ผลสำรวจภาวะโลหิตจางในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ พ.ศ.2563 ลดลง เป็นร้อยละ 15.15 อย่างไรก็ตาม แผนพัฒนาการสาธารณสุข ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564 กำหนดเป้าหมายให้หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กไม่เกินร้อยละ 10 ทั้งนี้จากผลการดำเนินงานแม่และเด็กปี 2567 ของ รพ.สต.บ้านวังตง อัตราหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจางในระยะใกล้คลอดเท่ากับร้อยละ 18.18 ซึ่งมีค่าสูงกว่าเป้าหมายที่กำหนดแต่เนื่องจากภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์เป็นปัญหาสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของมารดาและทารกในครรภ์และยังส่งผลต่อภาวะการตกเลือดหลังคลอดและภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดจากภาวะเสี่ยงของการตั้งครรภ์ เพื่อลดอัตราแม่ตายโดยเน้นระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอดและหลังคลอด
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านวังตง ได้ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวเพื่อบรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดจึงได้จัดทำโครงการ “โครงการเตรียมความพร้อมก่อนตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธ์โดยดึงพลังแกนนำของประชาชนโดย แกนนำสุขภาพบุคคลใกล้ชิด ให้มีส่วนร่วมในการดูแลหญิงตั้งครรภ์
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงจากภาวะซีดและแก้ไขปัญหาสุขภาพอย่างทันท่วงที
- 2 เพื่อเฝ้าระวังส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์มีสุขภาพแข็งแรงปลอดภัยจากการตั้งครรภ์และการคลอด
- 3.เพื่อช่วยลดอัตราตายของ หญิงตั้งครรภ์ รวมถึงปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ ที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อนของ การตั้งครรภ์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้นำหมู่บ้านและอสม. จำนวน 54 คน จัดทำแผนการดำเนินงานและการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานตามโครงการ
- 2.จัดกิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่แก่กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และพ่อ-แม่หรือผู้ดูแลเด็ก จำนวน 20 คน
- จัดอบรมให้ความรู้หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีคู่อยุ่กินกับสามีและหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน 40 คน
- จัดกิจกรรมการเจาะคัดกรอง ฮีมาโตคริต พร้อมจ่ายยาเม็ดเสริมธาตุเหล็กในหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีคู่อยู่กินกับสามี จำนวน คน 70 คน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
20
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีคู่อยู่กินกับสามี
70
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีคู่อยู่กินกับสามีในเขตรับผิดชอบมีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กลดลง
- หญิงมีครรภ์และทารกในครรภ์มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงและปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อนต่างๆในขณะตั้งครรภ์ ขณะคลอด หลังคลอด
- หญิงตั้งครรภ์ที่สิ้นสุดการตั้งครรภ์และทารกอายุ 6 -12 เดือนภาวะโลหิตจางลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงจากภาวะซีดและแก้ไขปัญหาสุขภาพอย่างทันท่วงที
ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละหญิงที่สิ้นสุดตั้งครรภ์ทุกรายลดปัจจัยเสี่ยงจากภาวะภาวะซีด ไม่เกินร้อยละ10
0.00
2
2 เพื่อเฝ้าระวังส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์มีสุขภาพแข็งแรงปลอดภัยจากการตั้งครรภ์และการคลอด
ตัวชี้วัด : 1.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลครรภ์และฝากครรภ์ทันทีเมื่อตั้งครรภ์ (อายุครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์) ร้อยละ 90
2.ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ทุกรายได้รับการฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์คุณภาพ 8 ครั้ง
0.00
3
3.เพื่อช่วยลดอัตราตายของ หญิงตั้งครรภ์ รวมถึงปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ ที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อนของ การตั้งครรภ์
ตัวชี้วัด : 1.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการคัดกรองความเสี่ยง ร้อยละ 100
2.ส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์มีสุขภาพแข็งแรงปลอดภัยจากการตั้งครรภ์และการคลอด
ร้อยละ100
3.ร้อยละของทารก แรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัมน้อยกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 7.00
0.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
90
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
-
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
20
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีคู่อยู่กินกับสามี
70
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงจากภาวะซีดและแก้ไขปัญหาสุขภาพอย่างทันท่วงที (2) 2 เพื่อเฝ้าระวังส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์มีสุขภาพแข็งแรงปลอดภัยจากการตั้งครรภ์และการคลอด (3) 3.เพื่อช่วยลดอัตราตายของ หญิงตั้งครรภ์ รวมถึงปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ ที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อนของ การตั้งครรภ์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้นำหมู่บ้านและอสม. จำนวน 54 คน จัดทำแผนการดำเนินงานและการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานตามโครงการ (2) 2.จัดกิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่แก่กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และพ่อ-แม่หรือผู้ดูแลเด็ก จำนวน 20 คน (3) จัดอบรมให้ความรู้หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีคู่อยุ่กินกับสามีและหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน 40 คน (4) จัดกิจกรรมการเจาะคัดกรอง ฮีมาโตคริต พร้อมจ่ายยาเม็ดเสริมธาตุเหล็กในหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีคู่อยู่กินกับสามี จำนวน คน 70 คน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการเตรียมความพร้อมก่อนตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธ์ุ รพ.สต.บ้านวังตง ปี 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ L5294
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นายอภิชาติ ปัจฉิมศิริ ผอ.รพ.สต.บ้านวังตง นางสุรัชดา อุมายี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการเตรียมความพร้อมก่อนตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธ์ุ รพ.สต.บ้านวังตง ปี 2568 ”
ในเขต รพ.สต.บ้านวังตง
หัวหน้าโครงการ
นายอภิชาติ ปัจฉิมศิริ ผอ.รพ.สต.บ้านวังตง นางสุรัชดา อุมายี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
กันยายน 2568
ที่อยู่ ในเขต รพ.สต.บ้านวังตง จังหวัด
รหัสโครงการ L5294 เลขที่ข้อตกลง 10/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการเตรียมความพร้อมก่อนตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธ์ุ รพ.สต.บ้านวังตง ปี 2568 จังหวัด" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ในเขต รพ.สต.บ้านวังตง
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการเตรียมความพร้อมก่อนตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธ์ุ รพ.สต.บ้านวังตง ปี 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการเตรียมความพร้อมก่อนตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธ์ุ รพ.สต.บ้านวังตง ปี 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ในเขต รพ.สต.บ้านวังตง รหัสโครงการ L5294 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 13,380.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาทอน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
ภาวะโลหิตจางเป็นความผิดปกติทางระบบเลือดที่ส่งผลให้การสร้างเม็ดเลือดแดงน้อยลง เกิดจากหลายสาเหตุทั้งความผิดปกติทางกรรมพันธุ์ ภาวะขาดสารอาหารและโรคติดเชื้อ โดยพบบ่อยที่สุดในหญิงตั้งครรภ์ สาเหตุสำคัญของภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ คือ การขาดสารอาหารจากธาตุเหล็กและกรดโฟลิก (ชลธิชา ดานา, 2560) ภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนของมารดาและทารก เช่น มารดาเสี่ยงต่อการตกเลือดหลังคลอด ทารกเสี่ยงต่อคลอดก่อนกำหนด ทารกแรกคลอดมีน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม หญิงตั้งครรภ์ที่่มีภาวะโลหิตจางอย่างรุนแรงจะมีโอกาสเสี่ยงต่อการตกเลือดในระหว่างคลอด และมีโอกาสติดเชื้อในระยะหลังคลอดสูง พัฒนาการไม่สมบูรณ์ และภาวะตายในครรภ์ ฯลฯ จากรายงานของงานอนามัยแม่และเด็ก พบว่าสาเหตุการตายของมารดา อันดับหนึ่ง คือ ภาวะตกเลือดหลังคลอด ซึ่งปัญหาดังกล่าว เป็นปัญหาทางสาธารณสุขของประเทศที่กำลังพัฒนา โดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศแถบเอเชียใต้ พบได้มากสุดถึงร้อยละ 65 (WHO, 2019: Online) ในประเทศไทย ผลสำรวจภาวะโลหิตจางในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ พ.ศ.2561 – 2563 พบว่ามีแนวโน้มสูงขึ้น ในปี พ.ศ. 2561-2562 หญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจาง ร้อยละ 16.06 และ 16.43 ตามลำดับ (HDC,2563) กระทรวงสาธารณสุขจึงได้กำหนดให้มีการตรวจคัดกรองภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ทุกราย ให้ยาบำรุงเสริมธาตุเหล็กและให้ความรู้เรื่องการบริโภคอาหาร การดูแลและการส่งเสริมสุขภาพในหญิงตั้งครรภ์ ทำให้ผลสำรวจภาวะโลหิตจางในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ พ.ศ.2563 ลดลง เป็นร้อยละ 15.15 อย่างไรก็ตาม แผนพัฒนาการสาธารณสุข ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564 กำหนดเป้าหมายให้หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กไม่เกินร้อยละ 10 ทั้งนี้จากผลการดำเนินงานแม่และเด็กปี 2567 ของ รพ.สต.บ้านวังตง อัตราหญิงตั้งครรภ์มีภาวะโลหิตจางในระยะใกล้คลอดเท่ากับร้อยละ 18.18 ซึ่งมีค่าสูงกว่าเป้าหมายที่กำหนดแต่เนื่องจากภาวะโลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์เป็นปัญหาสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของมารดาและทารกในครรภ์และยังส่งผลต่อภาวะการตกเลือดหลังคลอดและภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดจากภาวะเสี่ยงของการตั้งครรภ์ เพื่อลดอัตราแม่ตายโดยเน้นระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอดและหลังคลอด ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านวังตง ได้ตระหนักถึงความสำคัญและความจำเป็นในการแก้ไขปัญหาดังกล่าวเพื่อบรรลุตามเป้าหมายที่กำหนดจึงได้จัดทำโครงการ “โครงการเตรียมความพร้อมก่อนตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธ์โดยดึงพลังแกนนำของประชาชนโดย แกนนำสุขภาพบุคคลใกล้ชิด ให้มีส่วนร่วมในการดูแลหญิงตั้งครรภ์
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงจากภาวะซีดและแก้ไขปัญหาสุขภาพอย่างทันท่วงที
- 2 เพื่อเฝ้าระวังส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์มีสุขภาพแข็งแรงปลอดภัยจากการตั้งครรภ์และการคลอด
- 3.เพื่อช่วยลดอัตราตายของ หญิงตั้งครรภ์ รวมถึงปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ ที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อนของ การตั้งครรภ์
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- 1. ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้นำหมู่บ้านและอสม. จำนวน 54 คน จัดทำแผนการดำเนินงานและการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานตามโครงการ
- 2.จัดกิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่แก่กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และพ่อ-แม่หรือผู้ดูแลเด็ก จำนวน 20 คน
- จัดอบรมให้ความรู้หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีคู่อยุ่กินกับสามีและหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน 40 คน
- จัดกิจกรรมการเจาะคัดกรอง ฮีมาโตคริต พร้อมจ่ายยาเม็ดเสริมธาตุเหล็กในหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีคู่อยู่กินกับสามี จำนวน คน 70 คน
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 20 | |
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | ||
หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีคู่อยู่กินกับสามี | 70 |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีคู่อยู่กินกับสามีในเขตรับผิดชอบมีภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กลดลง
- หญิงมีครรภ์และทารกในครรภ์มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงและปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อนต่างๆในขณะตั้งครรภ์ ขณะคลอด หลังคลอด
- หญิงตั้งครรภ์ที่สิ้นสุดการตั้งครรภ์และทารกอายุ 6 -12 เดือนภาวะโลหิตจางลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงจากภาวะซีดและแก้ไขปัญหาสุขภาพอย่างทันท่วงที ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละหญิงที่สิ้นสุดตั้งครรภ์ทุกรายลดปัจจัยเสี่ยงจากภาวะภาวะซีด ไม่เกินร้อยละ10 |
0.00 |
|
||
2 | 2 เพื่อเฝ้าระวังส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์มีสุขภาพแข็งแรงปลอดภัยจากการตั้งครรภ์และการคลอด ตัวชี้วัด : 1.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการดูแลครรภ์และฝากครรภ์ทันทีเมื่อตั้งครรภ์ (อายุครรภ์ก่อน 12 สัปดาห์) ร้อยละ 90 2.ร้อยละหญิงตั้งครรภ์ทุกรายได้รับการฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์คุณภาพ 8 ครั้ง |
0.00 |
|
||
3 | 3.เพื่อช่วยลดอัตราตายของ หญิงตั้งครรภ์ รวมถึงปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ ที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อนของ การตั้งครรภ์ ตัวชี้วัด : 1.หญิงตั้งครรภ์ได้รับการคัดกรองความเสี่ยง ร้อยละ 100 2.ส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์มีสุขภาพแข็งแรงปลอดภัยจากการตั้งครรภ์และการคลอด ร้อยละ100 3.ร้อยละของทารก แรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัมน้อยกว่าหรือเท่ากับ ร้อยละ 7.00 |
0.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 90 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | - | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | 20 | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - | ||
หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีคู่อยู่กินกับสามี | 70 |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ได้รับการเฝ้าระวังปัจจัยเสี่ยงจากภาวะซีดและแก้ไขปัญหาสุขภาพอย่างทันท่วงที (2) 2 เพื่อเฝ้าระวังส่งเสริมให้หญิงตั้งครรภ์และทารกในครรภ์มีสุขภาพแข็งแรงปลอดภัยจากการตั้งครรภ์และการคลอด (3) 3.เพื่อช่วยลดอัตราตายของ หญิงตั้งครรภ์ รวมถึงปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ ที่เกิดจากภาวะแทรกซ้อนของ การตั้งครรภ์
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) 1. ประชุมชี้แจงโครงการแก่ผู้นำหมู่บ้านและอสม. จำนวน 54 คน จัดทำแผนการดำเนินงานและการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานตามโครงการ (2) 2.จัดกิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่แก่กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และพ่อ-แม่หรือผู้ดูแลเด็ก จำนวน 20 คน (3) จัดอบรมให้ความรู้หญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีคู่อยุ่กินกับสามีและหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน 40 คน (4) จัดกิจกรรมการเจาะคัดกรอง ฮีมาโตคริต พร้อมจ่ายยาเม็ดเสริมธาตุเหล็กในหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่มีคู่อยู่กินกับสามี จำนวน คน 70 คน
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการเตรียมความพร้อมก่อนตั้งครรภ์เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางในหญิงวัยเจริญพันธ์ุ รพ.สต.บ้านวังตง ปี 2568 จังหวัด
รหัสโครงการ L5294
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นายอภิชาติ ปัจฉิมศิริ ผอ.รพ.สต.บ้านวังตง นางสุรัชดา อุมายี พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......