โครงการการพัฒนาสิ่งแวดล้อมและการจัดการขยะอย่างเป็นระบบเพือการมีสุขภาพอนามัยที่ดีของนักเรียน
ชื่อโครงการ | โครงการการพัฒนาสิ่งแวดล้อมและการจัดการขยะอย่างเป็นระบบเพือการมีสุขภาพอนามัยที่ดีของนักเรียน |
รหัสโครงการ | 68-L3032-02-02 |
ประเภทการสนับสนุน | ประเภท 2 สนับสนุนกิจกรรมสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคของกลุ่มหรือองค์กรประชาชน/หน่วยงานอื่น |
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มคน ที่รับผิดชอบโครงการ | หน่วยงานอื่นๆ ที่ไม่ใช่หน่วยงานสาธารณสุข เช่น โรงเรียน |
ชื่อองค์กรที่รับผิดชอบ | โรงเรียนบ้านกรือเซะ |
วันที่อนุมัติ | 12 มิถุนายน 2568 |
ระยะเวลาดำเนินโครงการ | 16 พฤษภาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 |
กำหนดวันส่งรายงาน | 29 ตุลาคม 2568 |
งบประมาณ | 24,300.00 บาท |
ผู้รับผิดชอบโครงการ | นายมะสูฮารตู บระอาซัน |
พี่เลี้ยงโครงการ | |
พื้นที่ดำเนินการ | โรงเรียนบ้านกรือเซะ |
ละติจูด-ลองจิจูด | place |
(ตามแนบท้ายประกาศคณะอนุกรรมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคฯ พ.ศ. 2557)
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวน(คน) | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | 254 | keyboard_arrow_down |
กิจกรรมหลักตามกลุ่มเป้าหมาย กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน : |
||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ |
สถานการณ์ปัญหา | ขนาด |
---|
ความสำคัญของโครงการ สถานการณ์ หลักการและเหตุผล
ปัจจุบันปัญหาเรื่องขยะนับว่าเป็นปัญหาสำคัญมาทั้งในระดับชุมชนและระดับประเทศ สาเหตุเนื่องจากประชากรในประเทศมีจำนวนมากขึ้น ชุมชนก็เพิ่มขึ้น สถานประกอบการต่าง ๆ มีมากขึ้น และสิ่งที่ตามมาอย่างเลี่ยงไม่ได้ก็คือ ขยะ ย่อมมีจำนวนมากขึ้นตามไปด้วย จนกระทั่งการกำจัดไม่สมดุลกับการเพิ่มขึ้นของจำนวนขยะ ในแต่ละวันจะมีขยะเพิ่มขึ้นเป็นจำนวนนับร้อยล้านตัน แต่เราสามารถกำจัดขยะได้เพียงวันละไม่กี่สิบล้านตันเท่านั้น จึงมีขยะที่เหลือตกค้างรอการกำจัดอยู่จำนวนมาก แม้รัฐบาลจะมีพื้นที่ที่จัดไว้เพื่อรองรับขยะแต่ก็ไม่เพียงพอกับปริมาณขยะที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว สร้างปัญหาเป็นอย่างมากทั้งทางด้านทัศนวิสัย กลิ่น ความสะอาด ฯลฯ เกิดเป็นปัญหาขยะล้นเมือง ถึงแม้ว่าในปีหนึ่ง ๆ ประเทศจะต้องเสียงบประมาณเป็นจำนวนมากไปกับการจัดการด้านขยะ แต่ผลลัพธ์ที่ได้ก็ยังไม่เป็นที่น่าพอใจ เนื่องจากรัฐบาลยังมีการบริหารการจัดการขยะยังไม่ดีเท่าที่ควร ประกอบกับประชาชนในประเทศเองก็ยังขาดจิตสำนึกในการทิ้งขยะให้เป็นที่ การคัดแยกขยะก่อนทิ้ง รวมทั้งขาดความรู้เกี่ยวกับการนำขยะกลับมาใช้ใหม่เพราะพอได้ยินคำว่า "ขยะ" หลาย ๆ คนก็ไม่สนใจ ละเลยและไม่เห็นคุณค่า ทั้งที่ขยะเหล่านั้นหากนำมาคัดแยกอย่างถูกวิธีแล้วจะสร้างประโยชน์ได้ และยังสามารถนำกลับมาหมุนเวียนเข้ากระบวนการผลิตเพื่อนำกลับมาใช้ใหม่ได้อีกครั้ง ซึ่งเป็นการประหยัดทรัพยากรและเงินงบประมาณแผ่นดินได้เป็นจำนวนมาก รวมทั้งปริมาณขยะก็จะลดจำนวนลงได้มาก ซึ่งจะส่งผลดีทั่งต่อสิ่งแวดล้อม ต่อประชากร และต่อประเทศชาติต่อไป
วัตถุประสงค์/ตัวชี้วัดความสำเร็จ | ขนาดปัญหา | เป้าหมาย 1 ปี | |
---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อสร้างควาใตระหนักและสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้กับนักเรียน 2.ลดมลพิษภายในโรงเรียน 3.นักเรียนเกิดแนวคิดที่ดีต่อการจัดการขยะ 4.เพื่อลดแหล่งกำเนิดโรคติดต่อจากยุงและหนู 5.เพื่อลดปริมาณขยะในโรงเรียนและชุมชน • สร้างความตระหนักและสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในเกิดกับนักเรียน ร้อยละ 100 • ลดมลพิษจากโรงเรียน รักษาสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียน ร้อยละ 100 -นักเรียนเกิดแนวคิดที่ดีต่อการจัดการขยะ ร้อยละ 90 |
0.00 |
hourglass_emptyไม่มีกลุ่มกิจกรรม | กลุ่มเป้าหมาย (คน) |
งบกิจกรรม (บาท) |
ทำแล้ว |
ใช้จ่ายแล้ว (บาท) |
||
วันที่ | กิจกรรม | 0 | 24,300.00 | 0 | 0.00 | |
16 พ.ค. 68 - 30 ก.ย. 68 | โครงการการพัฒนาสิ่งแวดล้อมและการจัดการขยะอย่างเป็นระบบเพือการมีสุขภาพอนามัยที่ดีของนักเรียน | 0 | 24,300.00 | - |
- นักเรียนในโรงเรียนมีจิตสำนึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
- โรงเรียนมีการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมที่ดี
- โรงเรียนและชุมชนมีสภาพแวดล้อมสะอาด น่าอยู่
- นักเรียนเกิดแนวคิดที่ดีต่อการจัดการขยะและเข้าใจคุณค่าของสิ่งต่าง
โครงการเข้าสู่ระบบเมื่อวันที่ 26 มี.ค. 2568 05:55 น.