กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง พื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2561

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง


“ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง พื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2561 ”

ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

หัวหน้าโครงการ
นางอารีย์ เกื้อคลัง

ชื่อโครงการ โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง พื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2561

ที่อยู่ ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มีนาคม 2561 ถึง 31 สิงหาคม 2561


กิตติกรรมประกาศ

"โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง พื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2561 จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง พื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2561



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง พื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2561 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลโคกม่วง อำเภอเขาชัยสน จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มีนาคม 2561 - 31 สิงหาคม 2561 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโคกม่วง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ โดยมีกลุ่มเป้าหมายเป็นสมาชิกในชุมชนจำนวน 0 คน หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

สภาพสังคมปัจจุบันที่เปลี่ยนแปล ทำให้คนไทยเจ็บป่วยและตายด้วยโรคไม่ติดต่อที่มีสาเหตุมาจากพฤติกรรมไม่ถูกต้องเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ข้อมูลกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ปี 2558 อัตราป่วยต่อแสนประชากรจังหวัดพัทลุง โรคความดันโลหิตสูง 1,878.33 โรคเบาหวาน 1,044.46 สำหรับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าควาย ปี 2560 พบโรคความดันโลหิตสูงเท่ากับ 8,161.04 โรคเบาหวาน 4,207.47 สถิติคัดกรองเสี่ยงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูในพื้นที่มีกลุ่มเสี่ยงต่อโรคดังกล่าวเพิ่มขึ้นจากการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพพบว่าโรคเหล่านี้เกิดจากความเจริญทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างรวดเร็ว มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงค่านิยม วัฒนธรรม วิถีชีวิต ค่านิยมการกินแบบตะวันตก การบริโภคอาหาร มัน เค็ม จัด หวานจัด ทั้งรับประทานผัก ผลไม้ไม่เพียงพอ ความเครียด การสุูบบุหรี่ ดื่มสุรา ล้วนพฤติกรรมที่ไม่ถูกต้องทำให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพ ป่วยเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ตายและพิการ มีการสูญเสียค่าใช้จ่ายและเศรษฐกิจ สามารถป้องกันได้ด้วยบุคคลและชุมชนปรับเปลี่ยนพฤติกรรมและสิ่งแวดล้อม
เพื่อพัฒนาศักยภาพของชุมชนและภาคีเครือข่าย อสม.ให้เกิดความตระหนัก มีการเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพในประชากรกลุ่มเสี่ยงเบาหวานและความดันโลหิตสูง รพ.สต.บ้านท่าควาย จึงได้ทำโครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ในหมู่บ้านเป้าหมาย คือ หมู่ที่ 5,6,12, และ 14 ต.โคกม่วง เพื่อผลักดันให้ชุมชนดำเนินงานร่วมกันคิด ร่วมกันทำ อย่างเป็นระบบและเหมาะสมกับสภาพปัญหาและวิถีชุมชน มุ่งหวังให้สภาพปัญหา ลดปัจจัยเส่ี่ยงและอัตราการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง มีสุขภาพดีได้อย่างยั่งยืน

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อ่ควบคุมความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือด
  2. เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ค่าจัดซื้อเครื่องวัดระดับน้ำตาลในเลือด จำนวน 4 เครื่องๆละ 2100 บาท
  2. ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าอบรม จำนวน 80 คนๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 50 บาท
  3. ค่าถ่ายเอกสารแบบบันทึกสุขภาพ จำนวน 1600 แผ่นๆละ0.5 บาท ปากกา 80ด้ามๆละ 5 บาท
  4. ค่าจัดทำโพสเตอร์สื่อการสอน จำนวน 60 แผ่นๆละ 30 บาท

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.กลุ่มเส่ี่ยงสามารถปฏิบัติตนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยมีค่าความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ ได้ร้อยละ 50 2.จำนวนผู้ป่วยรายใหม่ โรคเบาหวานลดลง ร้อยละ 50 และความดันโลหิตสูงลดลง ร้อยละ 2.50


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ค่าถ่ายเอกสารแบบบันทึกสุขภาพ จำนวน 1600 แผ่นๆละ0.5 บาท ปากกา 80ด้ามๆละ 5 บาท

วันที่ 23 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ค่าถ่ายเอกสาร

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมความดันโลหิต และระดับน้ำตาลในเลือด 2. มีป้ายให้ความรู้อ้วยลงพุงหัยภัยเงียบ ในคลินิกไร้พุง 3. มีเครื่องวัดระดับน้ำตาล 4. มีการติดตามประเมินการเฝ้าระวัง ผลลัพธ์ 1. กลุ่มเสี่ยงสามารถปฏิบัติตนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 2. อัตราผู้ป่วยรายใหม่โคเบาหวานร้อยละ 1.39 และความดันโลหิตสูงร้อยละ 0 คา

 

80 0

2. ค่าจัดซื้อเครื่องวัดระดับน้ำตาลในเลือด จำนวน 4 เครื่องๆละ 2100 บาท

วันที่ 26 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ค่าวัสดุเครื่องวัดระดับน้ำตาลในเลือด

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมความดันโลหิต และระดับน้ำตาลในเลือด 2. มีป้ายให้ความรู้อ้วยลงพุงหัยภัยเงียบ ในคลินิกไร้พุง 3. มีเครื่องวัดระดับน้ำตาล 4. มีการติดตามประเมินการเฝ้าระวัง ผลลัพธ์ 1. กลุ่มเสี่ยงสามารถปฏิบัติตนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 2. อัตราผู้ป่วยรายใหม่โคเบาหวานร้อยละ 1.39 และความดันโลหิตสูงร้อยละ 0

 

80 0

3. ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าอบรม จำนวน 80 คนๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 50 บาท

วันที่ 28 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

ค่าอาหารกลางวัน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมความดันโลหิต และระดับน้ำตาลในเลือด 2. มีป้ายให้ความรู้อ้วยลงพุงหัยภัยเงียบ ในคลินิกไร้พุง 3. มีเครื่องวัดระดับน้ำตาล 4. มีการติดตามประเมินการเฝ้าระวัง ผลลัพธ์ 1. กลุ่มเสี่ยงสามารถปฏิบัติตนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 2. อัตราผู้ป่วยรายใหม่โคเบาหวานร้อยละ 1.39 และความดันโลหิตสูงร้อยละ 0

 

80 0

4. ค่าจัดทำโพสเตอร์สื่อการสอน จำนวน 60 แผ่นๆละ 30 บาท

วันที่ 28 พฤศจิกายน 2561

กิจกรรมที่ทำ

สื่อการเรียนกาสอน

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

1.อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มเสี่ยงในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมความดันโลหิต และระดับน้ำตาลในเลือด 2. มีป้ายให้ความรู้อ้วยลงพุงหัยภัยเงียบ ในคลินิกไร้พุง 3. มีเครื่องวัดระดับน้ำตาล 4. มีการติดตามประเมินการเฝ้าระวัง ผลลัพธ์ 1. กลุ่มเสี่ยงสามารถปฏิบัติตนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 2. อัตราผู้ป่วยรายใหม่โคเบาหวานร้อยละ 1.39 และความดันโลหิตสูงร้อยละ 0

 

80 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

  1. กลุ่มเสี่ยงได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควลคุบความดันโลหิต และระดพับน้ำตาลในเลือด จำนวน 80 คน
  2. รพ.สต. มีคลินิกไร้พุง (DPAC) ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดพุง และลดพฤติกรรมเสี่ยงโรคเรื้อรัง
  3. กลุ่มเสี่ยงโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม เพื่อควบคุมความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือด
  4. ประชาชนที่เข้าร่วมบริการในเขต รพ.สต. มีแนวทาง และกระบวนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดพุงและลดพฤติกรรมเสี่ยงโรคเรื้้อรังบ ปัญหา/อุปสรรค การประเมินสุขภาพของกลุ่มเสี่ยง ค่าความดันโลหิต ระดับน้ำตาลในเลือด รอบเอว และค่าดัชนีมวลกาย อยู่ในเกณฑ์ปกติ ได้ร้อยละ 52.50 (ไม่ถึงค่าเป้าหมายร้อยละ 50.0 ) สาเหตเพราะ กลุ่มเสี่ยงยังไม่มีความตระหนักมากพอ และไม่เข้าเข้มงวดกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างจริงจัง แนวทางแก้ไข ติดตามการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพอย่างต่อเนื่อง โดยจัดการโครงการพฤติกรรมสุขภาพอย่างจริงจัง

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อ่ควบคุมความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือด
ตัวชี้วัด : อัตรากลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อควบคุมความดันโลหิต และระดับน้ำตาลในเลือดเพิ่มขึ้นร้อยละ 80
0.00

กลุ่มเสี่ยงสามารถปฏิบัติตนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ โดยมีค่าความดันโลหิต และระดับน้ำตาลในเลือดอยู่ในเกณฑ์ปกติ ได้ร้อยละ 42.50

2 เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้
ตัวชี้วัด : อัตรากลุ่มเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้ ร้อยละ 50
0.00

อัตราผู้ป่วยรายใหม่โรคเบาหวานร้อยละ 1.39 และความดันโลหิตสูงร้อยละ 0

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 80
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 80
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อ่ควบคุมความดันโลหิตและระดับน้ำตาลในเลือด (2) เพื่อให้กลุ่มเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพได้

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ค่าจัดซื้อเครื่องวัดระดับน้ำตาลในเลือด จำนวน 4 เครื่องๆละ 2100 บาท (2) ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าอบรม จำนวน 80 คนๆ ละ 1 มื้อๆ ละ 50 บาท (3) ค่าถ่ายเอกสารแบบบันทึกสุขภาพ จำนวน 1600 แผ่นๆละ0.5 บาท ปากกา 80ด้ามๆละ 5 บาท (4) ค่าจัดทำโพสเตอร์สื่อการสอน จำนวน 60 แผ่นๆละ 30 บาท

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง พื้นที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านท่าควาย ปีงบประมาณ 2561 จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางอารีย์ เกื้อคลัง )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด