กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยสุขใจ กายแข็งแรง ”
ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง



หัวหน้าโครงการ
นายชม บุญชูดำ




ชื่อโครงการ ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยสุขใจ กายแข็งแรง

ที่อยู่ ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 68-L3348-3-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 กรกฎาคม 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยสุขใจ กายแข็งแรง จังหวัดพัทลุง" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลานข่อย ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยสุขใจ กายแข็งแรง



บทคัดย่อ

โครงการ " ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยสุขใจ กายแข็งแรง " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลลานข่อย อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง รหัสโครงการ 68-L3348-3-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 กรกฎาคม 2568 - 31 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 11,000.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลานข่อย เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

เทศบาลตำบลลานข่อย มีเขตความรับผิดชอบจำนวนหมู่บ้าน ๙ หมู่บ้าน มีประชากร ทั้งสิ้น ๘,๖69 คน มีผู้สูงอายุ จำนวน ๑,๒88 คน คิดเป็นร้อยละ 14.86 ซึ่งมีอัตราเพิ่มขึ้นทุกปี กล่าวตามนิยมของสหประชาชาติ คือ เมื่อประเทศใดมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป เกินร้อยละ 10 ของประชากรทั้งหมด ถือว่าประเทศนั้น ได้ก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) และจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ (Aged Society) ประเทศไทยเริ่มเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุตั้งแต่ปี 2547 และจะเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์ในปี 2567 หรือในปีหน้า เกิดการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรเข้าสู่สังคมผู้สูงอายมีผลกระทบต่ออัตราส่วนภาระพึ่งพิงหรือภาระโดยรวมที่ประชากรวัยทำงานจะต้องเลี้ยงดูประชากรวัยสูงอายุมีจำนวนเพิ่มมากขึ้น อาจนำไปสู่ปัญหาทางเศรษฐกิจ สังคม รวมถึงปัญหาในด้านสุขภาพของผู้สูงอายุด้วย เนื่องจากผู้สูงอายุมีภาวะด้านสุขภาพที่เปลี่ยนแปลง มีความเสื่อมของร่างกาย อวัยวะต่าง ๆ ทั่วไปเริ่มอ่อนแอและเกิดโรคง่าย ภูมิต้านทานโรคน้อยลง รวมถึงมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านจิตใจและสังคม
ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมอาชีพผู้สูงอายุเทศบาลตำบลลานข่อย ได้ตระหนักถึงคุณค่าและสุขภาพของผู้สูงอายุ รวมถึงเข้าใจสภาพปัญหาต่าง ๆ ที่อาจจะเกิดขึ้นกับผู้สูงอายุในทุก ๆ ด้าน ดังที่กล่าวมาข้างต้น จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยสุขใจ กายแข็งแรง โดยมุ่งหวังให้เกิดการมีส่วนร่วมของครอบครัว ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานภาครัฐ ทั้งนี้ ได้มุ่งเน้นในด้านการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ ให้เป็นผู้สูงอายุที่มีคุณภาพไม่เป็นภาระต่อสังคมและครอบครัวต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ทราบถึงการดูแลสุขภาพที่เหมาะสมในวัยสูงอายุ การปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ ร่างกาย ในวัยสูงอายุ
  2. เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความเข้าใจในหลักโภชนาการที่ดี การออกกำลังกายที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุและการจัดการอารมณ์ในวัยสูงอายุ
  3. ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประชาสัมพันธ์และชักชวนให้ผู้สูงอายุคนอื่น ๆเข้าร่วมกิจกรรม หลีกเลี่ยงการเป็นผู้สูงอายุที่อยู่คนเดียว ติดบ้าน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. ผู้สูงอายุมีความรู้ และปฏิบัติตนเกี่ยวกับการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
  2. ผู้สูงอายุได้รับการส่งเสริมสุขภาพ “ไม่ล้ม ไม่ลืม ไม่เศร้า กินข้าวอร่อย”
  3. ผู้สูงอายุมีสุขภาวะที่ดี มองเห็นคุณค่าในตนเองมีสุขภาพจิตที่ดี

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ทราบถึงการดูแลสุขภาพที่เหมาะสมในวัยสูงอายุ การปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ ร่างกาย ในวัยสูงอายุ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุ จำนวน 50 คน มีความรู้ มีทักษะในการปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ ร่างกาย ในวัยสูงอายุ

 

2 เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความเข้าใจในหลักโภชนาการที่ดี การออกกำลังกายที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุและการจัดการอารมณ์ในวัยสูงอายุ
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอาย จำนวน 50 คน มีความเข้าใจที่ดีต่อโภชนาการและคุณลักษณะของโภชนาการที่ดี รู้ว่าอาหารที่ควรบริโภคบ่อย ๆ อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง รู้ว่าควรออกกำลังกายให้เหมาะสมกับตนเอง และสามารถบอกวิธีการจัดการอารมณ์ในวัยสูงอายุผู้สูงอาย จำนวน 50 คน มีความเข้าใจที่ดีต่อโภชนาการและคุณลักษณะของโภชนาการที่ดี รู้ว่าอาหารที่ควรบริโภคบ่อย ๆ อาหารที่ควรหลีกเลี่ยง รู้ว่าควรออกกำลังกายให้เหมาะสมกับตนเอง และสามารถบอกวิธีการจัดการอารมณ์ในวัยสูงอายุ

 

3 ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประชาสัมพันธ์และชักชวนให้ผู้สูงอายุคนอื่น ๆเข้าร่วมกิจกรรม หลีกเลี่ยงการเป็นผู้สูงอายุที่อยู่คนเดียว ติดบ้าน
ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุ จำนวน 50 คน สามารถถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์จากการเข้าร่วมกิจกรรม สามารถโน้มน้าวใจ ชักชวนให้ผู้สูงอายุคนอื่นมาเข้าร่วมกิจกรรมในรุ่นหรือปีถัดไป

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ทราบถึงการดูแลสุขภาพที่เหมาะสมในวัยสูงอายุ การปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลงด้านจิตใจ ร่างกาย ในวัยสูงอายุ (2) เพื่อให้ผู้สูงอายุมีความเข้าใจในหลักโภชนาการที่ดี  การออกกำลังกายที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุและการจัดการอารมณ์ในวัยสูงอายุ (3) ผู้สูงอายุที่เข้าร่วมกิจกรรมสามารถนำความรู้ที่ได้ไปประชาสัมพันธ์และชักชวนให้ผู้สูงอายุคนอื่น ๆเข้าร่วมกิจกรรม หลีกเลี่ยงการเป็นผู้สูงอายุที่อยู่คนเดียว ติดบ้าน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมอบรมให้ความรู้

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


ส่งเสริมสุขภาพผู้สูงวัยสุขใจ กายแข็งแรง จังหวัด พัทลุง

รหัสโครงการ 68-L3348-3-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายชม บุญชูดำ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด