กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก 11 เดือน ถึง 3 ปี ”
ตำบลตรัง อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี



หัวหน้าโครงการ
นายมะอำรา สือรี




ชื่อโครงการ โครงการแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก 11 เดือน ถึง 3 ปี

ที่อยู่ ตำบลตรัง อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี จังหวัด ปัตตานี

รหัสโครงการ 68-L3002-01-08 เลขที่ข้อตกลง 68-L3002-01-08

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 เมษายน 2568 ถึง 30 พฤษภาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก 11 เดือน ถึง 3 ปี จังหวัดปัตตานี" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลตรัง อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตรัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก 11 เดือน ถึง 3 ปี



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก 11 เดือน ถึง 3 ปี " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลตรัง อำเภอมายอ จังหวัดปัตตานี รหัสโครงการ 68-L3002-01-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 เมษายน 2568 - 30 พฤษภาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,987.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตรัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ภาวะโภชนาการเป็นปัจจัยสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กปฐมวัย โดยเฉพาะในช่วงอายุ 11 เดือนถึง 3 ปี ซึ่งเป็นช่วงวิกฤตของการวางรากฐานสุขภาพและพัฒนาการ หากเด็กได้รับสารอาหารไม่เพียงพอและเหมาะสม จะส่งผลให้เกิดภาวะทุพโภชนาการ ทั้งขาดสารอาหารและได้รับสารอาหารเกิน นำไปสู่ปัญหาสุขภาพทั้งระยะสั้นและระยะยาว เช่น ภาวะแคระแกร็น พัฒนาการล้าช้า สติปัญญาบกพร่อง ภูมิต้านทานต่ำ มีความเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยบ่อยและเสียชีวิต รวมถึงเพิ่มความเสี่ยงต่อโรคำม่ติดต่อเรื้อรังในวัยผู้ใหญ่ เช่น โรคอ้วน เบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคหัวใจ ปัญหาทุพโภชนาการในเด็กปฐมวัยจึงเป็นปัญหาสำคัญที่ต้องได้รับการแก้ไขอย่างจริงจัง จากการสำรวจโภชนาการของเด็กปฐมวัยในตำบลตรัง พบว่ามีเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (ผอม) ในสัดส่วนที่สูงกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ สาเหตุหลักเกิดจากปัจจัยต่างๆ เช่นความยากจน การขาดความรู้ความเข้าใจของผู้ปกครองเรื่องโภชนาการ การเลี้ยงลูกด้วยนมผสม นิสัยการกินที่ไม่ดี และการขาดกาเฝ้ระวังโภชนาการอย่างต่อเนื่อง ซึ่งหากไม่ได้รับการเลี้ยงดูแก้ไขที่เหมาะสม เด็กกลุ่มนี้จะยิ่งมีแนวโน้มภาวะทุพโภชนาการที่รุนแรงมากขึ้นส่งผลเสียต่อสุขภาพ พัฒนาการ และคุณภาพชีวิตในระยะยาว เป็นการสูญเสียทรัพยากรบุคคลที่สำคัญของประเทศ ดังนั้น เพื่อแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กอายุ 11 เดือน 3 ปี อย่างเป็นรูปธรรม โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตรังจึงได้จัดโครงการนี้ขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเฝ้าระวังภาวะโภชนาการของเด็กกลุ่มดังกล่าวทั้งหมด 23 คน ด้วยการชั่งน้ำหนัก วัดความสูง ประเมินสัดส่วนร่างกาย และซักประวัติโภชนาการ เพื่อค้นหาเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการและให้การดูแลแก้ไขอย่างทันท่วงที ควบคู่ไปกับการจัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาการและโภชนาการที่ดี ทั้งการให้ความรู้กับผู้ปกครองเรื่องอาหารและโภชนาการเหมาะสมสำหรับเด็ก การสาธิตการประกอบอาหาร การแจกอาหารดสริมและนมผง รวมถึงการเชื่อมโยงเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการเข้าสู่ระบบการดูแลรักษาของสถานบริการสาธารณสุขในพื้นที่ เพื่อให้ได้รับการดูแลแก้ไขปัญหาสุขภาพอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ โครงการนี้ยังตอบสนองต่อแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 ที่ให้ความสำคัญกับการสร้างสุขภาพในช่วงปฐมวัย และยุทธศาตร์ชาติ 20 ปี ในประเด็นการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต โดยเฉพาะการพัฒนาเด็กตั้งแต่ช่วงครรภ์จนถึง 5 ปี คาดหว้งว่าโครงการนี้จะช่วยให้เด็กปฐมวัยในตำบลตรังมีโอาสพัฒนาศักยภาพเต็มตามวัย ปลอดภัยจากภาวะทุพโภชนาการ และเติบโตเป็นทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพของประเทศชาติต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก 11 เดือน ถึง 3 ปี
  2. เพื่อให้เด็กเล็กและเด็ก 11 เดือน ถึง 3 ปี ที่มีภาวะโภชนาการเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) ได้รับการดูแลแก้ไข

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

     


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 เพื่อเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก 11 เดือน ถึง 3 ปี
    ตัวชี้วัด : ภาวะโภชนาการเด็ก 11 เดือน ถึง 3 ปี จำนวน 95 คน ร้อยละ 80

     

    2 เพื่อให้เด็กเล็กและเด็ก 11 เดือน ถึง 3 ปี ที่มีภาวะโภชนาการเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) ได้รับการดูแลแก้ไข
    ตัวชี้วัด : เด็กเล็กและเด็กทีมีภาวะโภชนาการเกินที่ได้รับการดูแลแก้ไข ร้อยละ 80

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 0
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็ก 11 เดือน ถึง 3 ปี (2) เพื่อให้เด็กเล็กและเด็ก 11 เดือน ถึง 3 ปี ที่มีภาวะโภชนาการเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ (ผอม) ได้รับการดูแลแก้ไข

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็ก 11 เดือน ถึง 3 ปี จังหวัด ปัตตานี

    รหัสโครงการ 68-L3002-01-08

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายมะอำรา สือรี )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด