โครงการดูแลสิ่งแวดล้อมเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน ศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข ประจำปีงบประมาณ 2568
แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์
รายงานฉบับสมบูรณ์
โครงการ
“ โครงการดูแลสิ่งแวดล้อมเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน ศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสุพจน์ เรืองน้อย ตำแหน่ง ประธานอสม.ชุมชนภราดร
ได้รับการสนับสนุนโดย กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา
กันยายน 2568
ชื่อโครงการ โครงการดูแลสิ่งแวดล้อมเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน ศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข ประจำปีงบประมาณ 2568
ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7250-2-08 เลขที่ข้อตกลง 19/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการดูแลสิ่งแวดล้อมเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน ศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลสิ่งแวดล้อมเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน ศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการดูแลสิ่งแวดล้อมเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน ศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7250-2-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 41,500.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ »
บทคัดย่อ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล »
วัตถุประสงค์โครงการ »
กิจกรรม/การดำเนินงาน »
กลุ่มเป้าหมาย »
ผลลัพธ์ที่ได้ »
การประเมินผล »
ปัญหาและอุปสรรค »
ข้อเสนอแนะ »
เอกสารประกอบอื่นๆ »
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออก เกิดจากการติดเชื้อไวรัสเดงกี (dengue virus) โดยมียุงลายเป็นพาหะนำโรคมาสู่คน มักพบในประเทศเขตร้อนและระบาดในช่วงฤดูฝนของทุกปี อาการมีตั้งแต่ไม่รุนแรงไปจนถึงเสียชีวิตได้ หากไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที ผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกที่เคยได้รับเชื้อไวรัสสายพันธุ์ใดจะมีภูมิคุ้มกันเฉพาะสายพันธุ์นั้น หากได้รับเชื้อไวรัสสายพันธุ์ที่ต่างออกไปจากครั้งแรกก็สามารถเป็นไข้เลือดออกได้อีก และโดยทั่วไปอาการของโรคครั้งที่สองมักรุนแรงกว่าครั้งแรก ทั้งนี้ ในแต่ละปีพบว่ามีการกระจายของเชื้อทั้ง 4 สายพันธุ์หมุนเวียนกัน และมีเชื้อที่เด่นแตกต่างกันไปในแต่ละปี ทำให้มีการระบาดของโรคมาโดยตลอด เนื่องจากประชาชนไม่มีภูมิต้านทานต่อเชื้อไวรัสสายพันธุ์นั้นๆ
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก ประเทศไทย ข้อมูลจากรายงาน 506 กองระบาดวิทยา ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 18 กันยายน 2567 พบผู้ป่วยสะสม จำนวน 79,689 ราย (รายงานเพิ่มขึ้น 2,704 ราย) อัตราป่วย 120.15 ต่อประชากรแสนคน จำนวนผู้ป่วยเดือนกันยายน พ.ศ. 2567 มีจำนวนผู้ป่วยน้อยกว่า ปี พ.ศ. 2566 จำนวน 4.04 เท่า และน้อยกว่า ค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง (ปี พ.ศ. 2562–2566) 1.51 เท่า จังหวัดที่มีอัตราป่วยสะสม 5 อันดับแรกคือจังหวัดเชียงราย, จังหวัดภูเก็ต, จังหวัดแม่ฮ่องสอน, จังหวัดน่าน และจังหวัดลำพูน ตามลำดับ อัตราป่วยสูงสุดอยู่ในกลุ่มอายุ 5 -14 ปีอายุ 15 -24 ปี และอายุ 0 - 4 ปี ตามลำดับ ผู้ป่วยเสียชีวิตยืนยัน จำนวน 63 รายอัตราป่วยตายร้อยละ 0.08 ส่วนใหญ่ผู้เสียชีวิตอายุอยู่ระหว่าง > 65 ปีขึ้นไป สถานการณ์โรคไข้เลือดออก วันที่ 1 มกราคม-14 สิงหาคม 2567 (ข้อมูลจากระบบเฝ้าระวัง Digital 506 กรมควบคุมโรค) ประเทศไทยพบผู้ป่วย 63,350 ราย เสียชีวิต 47 ราย สำหรับเขตสุขภาพที่ 12 พบผู้ป่วย 7,124 ราย เสียชีวิต 5 ราย (จังหวัดสงขลา 2 ราย, ยะลา 1 ราย, ปัตตานี 1 ราย และพัทลุง 1 ราย) จังหวัดที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือจังหวัดสงขลา 2,623 ราย รองลงมาคือ ปัตตานี 1,090 ราย, พัทลุง 1,030 ราย, ยะลา 816 ราย, นราธิวาส 792 ราย, ตรัง 639 ราย และสตูล 134 ราย
จากข้อมูลการควบคุมโรค ศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข พบว่า ปี 2566 มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกจำนวน 73 ราย และในปี 2567 จำนวน 22 ราย มีผู้ป่วยกระจายอยู่ทั้ง 7 ชุมชนในเขตรับผิดชอบ ซึ่งโรคไข้เลือดออกเป็นโรคที่ป้องกันได้โดยการ “ป้องกันไม่ให้ยุงเกิด ไม่ให้ยุงกัด” ทางชุมชนภราดรจึงจัดโครงการนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อป้องกันและควบคุมการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน
- 2.เพื่อให้ค่าดัชนีชี้วัดลูกน้ำยุงลายที่บ้านและชุมชนลดลง
- 3.เพื่อให้อสม.มีความรู้เรื่องการวงจรการเกิดโรค การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อนำโรคต่าง ๆที่บ้านและชุมชน (Big Cleaning Day)
- กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการจัดฐานการเรียนรู้ฟื้นฟูความรู้วงจรการเกิดโรค การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
- กิจกรรมที่ 3 สำรวจกำจัดลูกน้ำยุงลาย (ประเมินไขว้ชุมชน) โดยอสม.แกนนำและจนท.ที่เกี่ยวข้อง
- 1.1 สร้างกระแสความรอบรู้เรื่องไข้เลือดออก วันอาเซียนเดงกีเดย์ ในเขตเทศบาลนครสงขลา ตรงกับวันที่ 15 มิถุนายน 2568
- 1.2 รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อนำโรคที่บ้านและชุมชน
- อบรมเชิงปฏิบัติการจัดฐานการเรียนรู้ฟื้นฟูความรู้วงจรการเกิดโรค การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
- สำรวจกำจัดลูกน้ำยุงลาย (ประเมินไขว้ชุมชน) โดยอสม.แกนนำและจนท.ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
250
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
พื้นที่ทั้ง ๗ ชุมชน ในเขตรับผิดชอบของศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุขมีสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพการป้องกันควบคุมคุมโรคให้จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก ลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ ผลผลิต* ผลผลิตที่ตั้งไว้ ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ สถานการณ์ เป้าหมาย ผลผลิต อธิบาย
1
1.เพื่อป้องกันและควบคุมการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน
ตัวชี้วัด : 1.จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง ร้อยละ 10
100.00
2
2.เพื่อให้ค่าดัชนีชี้วัดลูกน้ำยุงลายที่บ้านและชุมชนลดลง
ตัวชี้วัด : 2.ค่า HI ≤ ๑๐ (น้อยกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 10)
100.00
3
3.เพื่อให้อสม.มีความรู้เรื่องการวงจรการเกิดโรค การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
ตัวชี้วัด : 3.อสม.ร้อยละ 80 มีความรู้เรื่องการวงจรการเกิดโรค การป้องกันและควบคุมโรค ไข้เลือดออก
80.00
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด
250
กลุ่มเป้าหมาย จำนวนที่วางไว้(คน) จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
-
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
-
กลุ่มวัยทำงาน
250
กลุ่มผู้สูงอายุ
-
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
-
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
-
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
-
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
-
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
-
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อป้องกันและควบคุมการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน (2) 2.เพื่อให้ค่าดัชนีชี้วัดลูกน้ำยุงลายที่บ้านและชุมชนลดลง (3) 3.เพื่อให้อสม.มีความรู้เรื่องการวงจรการเกิดโรค การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อนำโรคต่าง ๆที่บ้านและชุมชน (Big Cleaning Day) (2) กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการจัดฐานการเรียนรู้ฟื้นฟูความรู้วงจรการเกิดโรค การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก (3) กิจกรรมที่ 3 สำรวจกำจัดลูกน้ำยุงลาย (ประเมินไขว้ชุมชน) โดยอสม.แกนนำและจนท.ที่เกี่ยวข้อง (4) 1.1 สร้างกระแสความรอบรู้เรื่องไข้เลือดออก วันอาเซียนเดงกีเดย์ ในเขตเทศบาลนครสงขลา ตรงกับวันที่ 15 มิถุนายน 2568 (5) 1.2 รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อนำโรคที่บ้านและชุมชน (6) อบรมเชิงปฏิบัติการจัดฐานการเรียนรู้ฟื้นฟูความรู้วงจรการเกิดโรค การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก (7) สำรวจกำจัดลูกน้ำยุงลาย (ประเมินไขว้ชุมชน) โดยอสม.แกนนำและจนท.ที่เกี่ยวข้อง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *- บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
- หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค สาเหตุ ข้อเสนอแนะ
โครงการดูแลสิ่งแวดล้อมเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน ศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7250-2-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
................................
( นางสุพจน์ เรืองน้อย ตำแหน่ง ประธานอสม.ชุมชนภราดร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......
โครงการ
“ โครงการดูแลสิ่งแวดล้อมเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน ศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข ประจำปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
หัวหน้าโครงการ
นางสุพจน์ เรืองน้อย ตำแหน่ง ประธานอสม.ชุมชนภราดร
กันยายน 2568
ที่อยู่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7250-2-08 เลขที่ข้อตกลง 19/2568
ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 13 มีนาคม 2568 ถึง 30 กันยายน 2568
กิตติกรรมประกาศ
"โครงการดูแลสิ่งแวดล้อมเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน ศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา
คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป
คณะทำงานโครงการ
โครงการดูแลสิ่งแวดล้อมเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน ศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข ประจำปีงบประมาณ 2568
บทคัดย่อ
โครงการ " โครงการดูแลสิ่งแวดล้อมเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน ศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข ประจำปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบ่อยาง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ L7250-2-08 ระยะเวลาการดำเนินงาน 13 มีนาคม 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 41,500.00 บาท จาก กองทุนหลักประกันสุขภาพ เทศบาลนครสงขลา เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้
โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ
หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"
สารบัญ
กิตติกรรมประกาศ | » |
บทคัดย่อ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล | » |
วัตถุประสงค์โครงการ | » |
กิจกรรม/การดำเนินงาน | » |
กลุ่มเป้าหมาย | » |
ผลลัพธ์ที่ได้ | » |
การประเมินผล | » |
ปัญหาและอุปสรรค | » |
ข้อเสนอแนะ | » |
เอกสารประกอบอื่นๆ | » |
ความเป็นมา/หลักการเหตุผล
โรคไข้เลือดออก เกิดจากการติดเชื้อไวรัสเดงกี (dengue virus) โดยมียุงลายเป็นพาหะนำโรคมาสู่คน มักพบในประเทศเขตร้อนและระบาดในช่วงฤดูฝนของทุกปี อาการมีตั้งแต่ไม่รุนแรงไปจนถึงเสียชีวิตได้ หากไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที ผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกที่เคยได้รับเชื้อไวรัสสายพันธุ์ใดจะมีภูมิคุ้มกันเฉพาะสายพันธุ์นั้น หากได้รับเชื้อไวรัสสายพันธุ์ที่ต่างออกไปจากครั้งแรกก็สามารถเป็นไข้เลือดออกได้อีก และโดยทั่วไปอาการของโรคครั้งที่สองมักรุนแรงกว่าครั้งแรก ทั้งนี้ ในแต่ละปีพบว่ามีการกระจายของเชื้อทั้ง 4 สายพันธุ์หมุนเวียนกัน และมีเชื้อที่เด่นแตกต่างกันไปในแต่ละปี ทำให้มีการระบาดของโรคมาโดยตลอด เนื่องจากประชาชนไม่มีภูมิต้านทานต่อเชื้อไวรัสสายพันธุ์นั้นๆ สถานการณ์โรคไข้เลือดออก ประเทศไทย ข้อมูลจากรายงาน 506 กองระบาดวิทยา ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม – 18 กันยายน 2567 พบผู้ป่วยสะสม จำนวน 79,689 ราย (รายงานเพิ่มขึ้น 2,704 ราย) อัตราป่วย 120.15 ต่อประชากรแสนคน จำนวนผู้ป่วยเดือนกันยายน พ.ศ. 2567 มีจำนวนผู้ป่วยน้อยกว่า ปี พ.ศ. 2566 จำนวน 4.04 เท่า และน้อยกว่า ค่ามัธยฐาน 5 ปีย้อนหลัง (ปี พ.ศ. 2562–2566) 1.51 เท่า จังหวัดที่มีอัตราป่วยสะสม 5 อันดับแรกคือจังหวัดเชียงราย, จังหวัดภูเก็ต, จังหวัดแม่ฮ่องสอน, จังหวัดน่าน และจังหวัดลำพูน ตามลำดับ อัตราป่วยสูงสุดอยู่ในกลุ่มอายุ 5 -14 ปีอายุ 15 -24 ปี และอายุ 0 - 4 ปี ตามลำดับ ผู้ป่วยเสียชีวิตยืนยัน จำนวน 63 รายอัตราป่วยตายร้อยละ 0.08 ส่วนใหญ่ผู้เสียชีวิตอายุอยู่ระหว่าง > 65 ปีขึ้นไป สถานการณ์โรคไข้เลือดออก วันที่ 1 มกราคม-14 สิงหาคม 2567 (ข้อมูลจากระบบเฝ้าระวัง Digital 506 กรมควบคุมโรค) ประเทศไทยพบผู้ป่วย 63,350 ราย เสียชีวิต 47 ราย สำหรับเขตสุขภาพที่ 12 พบผู้ป่วย 7,124 ราย เสียชีวิต 5 ราย (จังหวัดสงขลา 2 ราย, ยะลา 1 ราย, ปัตตานี 1 ราย และพัทลุง 1 ราย) จังหวัดที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุดคือจังหวัดสงขลา 2,623 ราย รองลงมาคือ ปัตตานี 1,090 ราย, พัทลุง 1,030 ราย, ยะลา 816 ราย, นราธิวาส 792 ราย, ตรัง 639 ราย และสตูล 134 ราย จากข้อมูลการควบคุมโรค ศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข พบว่า ปี 2566 มีผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกจำนวน 73 ราย และในปี 2567 จำนวน 22 ราย มีผู้ป่วยกระจายอยู่ทั้ง 7 ชุมชนในเขตรับผิดชอบ ซึ่งโรคไข้เลือดออกเป็นโรคที่ป้องกันได้โดยการ “ป้องกันไม่ให้ยุงเกิด ไม่ให้ยุงกัด” ทางชุมชนภราดรจึงจัดโครงการนี้ขึ้น
สถานการณ์
วัตถุประสงค์โครงการ
- 1.เพื่อป้องกันและควบคุมการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน
- 2.เพื่อให้ค่าดัชนีชี้วัดลูกน้ำยุงลายที่บ้านและชุมชนลดลง
- 3.เพื่อให้อสม.มีความรู้เรื่องการวงจรการเกิดโรค การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
กิจกรรม/การดำเนินงาน
- กิจกรรมที่ 1 กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อนำโรคต่าง ๆที่บ้านและชุมชน (Big Cleaning Day)
- กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการจัดฐานการเรียนรู้ฟื้นฟูความรู้วงจรการเกิดโรค การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
- กิจกรรมที่ 3 สำรวจกำจัดลูกน้ำยุงลาย (ประเมินไขว้ชุมชน) โดยอสม.แกนนำและจนท.ที่เกี่ยวข้อง
- 1.1 สร้างกระแสความรอบรู้เรื่องไข้เลือดออก วันอาเซียนเดงกีเดย์ ในเขตเทศบาลนครสงขลา ตรงกับวันที่ 15 มิถุนายน 2568
- 1.2 รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อนำโรคที่บ้านและชุมชน
- อบรมเชิงปฏิบัติการจัดฐานการเรียนรู้ฟื้นฟูความรู้วงจรการเกิดโรค การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
- สำรวจกำจัดลูกน้ำยุงลาย (ประเมินไขว้ชุมชน) โดยอสม.แกนนำและจนท.ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มเป้าหมาย
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้ | |
---|---|---|
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | ||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 250 | |
กลุ่มผู้สูงอายุ | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | ||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] |
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
พื้นที่ทั้ง ๗ ชุมชน ในเขตรับผิดชอบของศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุขมีสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพการป้องกันควบคุมคุมโรคให้จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก ลดลง
ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน
วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์** กิจกรรมของโครงการ | ผลผลิต* | |
---|---|---|
ผลผลิตที่ตั้งไว้ | ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง |
* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น
ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม
ผลการดำเนินโครงการ
สรุปผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
ผลผลิตโครงการ
วัตถุประสงค์ | สถานการณ์ | เป้าหมาย | ผลผลิต | อธิบาย | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 1.เพื่อป้องกันและควบคุมการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน ตัวชี้วัด : 1.จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกลดลง ร้อยละ 10 |
100.00 |
|
||
2 | 2.เพื่อให้ค่าดัชนีชี้วัดลูกน้ำยุงลายที่บ้านและชุมชนลดลง ตัวชี้วัด : 2.ค่า HI ≤ ๑๐ (น้อยกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 10) |
100.00 |
|
||
3 | 3.เพื่อให้อสม.มีความรู้เรื่องการวงจรการเกิดโรค การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ตัวชี้วัด : 3.อสม.ร้อยละ 80 มีความรู้เรื่องการวงจรการเกิดโรค การป้องกันและควบคุมโรค ไข้เลือดออก |
80.00 |
|
ผู้เข้าร่วมโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
---|---|---|---|
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด | 250 | ||
กลุ่มเป้าหมาย | จำนวนที่วางไว้(คน) | จำนวนที่เข้าร่วม(คน) | |
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย | |||
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน | - | ||
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน | - | ||
กลุ่มวัยทำงาน | 250 | ||
กลุ่มผู้สูงอายุ | - | ||
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ | |||
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด | - | ||
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง | - | ||
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ | - | ||
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง | - | ||
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] | - |
บทคัดย่อ*
โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1.เพื่อป้องกันและควบคุมการเกิดโรคไข้เลือดออกในชุมชน (2) 2.เพื่อให้ค่าดัชนีชี้วัดลูกน้ำยุงลายที่บ้านและชุมชนลดลง (3) 3.เพื่อให้อสม.มีความรู้เรื่องการวงจรการเกิดโรค การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก
ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมที่ 1 กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อนำโรคต่าง ๆที่บ้านและชุมชน (Big Cleaning Day) (2) กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการจัดฐานการเรียนรู้ฟื้นฟูความรู้วงจรการเกิดโรค การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก (3) กิจกรรมที่ 3 สำรวจกำจัดลูกน้ำยุงลาย (ประเมินไขว้ชุมชน) โดยอสม.แกนนำและจนท.ที่เกี่ยวข้อง (4) 1.1 สร้างกระแสความรอบรู้เรื่องไข้เลือดออก วันอาเซียนเดงกีเดย์ ในเขตเทศบาลนครสงขลา ตรงกับวันที่ 15 มิถุนายน 2568 (5) 1.2 รณรงค์กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์เชื้อนำโรคที่บ้านและชุมชน (6) อบรมเชิงปฏิบัติการจัดฐานการเรียนรู้ฟื้นฟูความรู้วงจรการเกิดโรค การป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก (7) สำรวจกำจัดลูกน้ำยุงลาย (ประเมินไขว้ชุมชน) โดยอสม.แกนนำและจนท.ที่เกี่ยวข้อง
ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...
หมายเหตุ *
ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ
ปัญหาและอุปสรรค | สาเหตุ | ข้อเสนอแนะ |
---|---|---|
|
|
|
โครงการดูแลสิ่งแวดล้อมเพื่อป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชน ศูนย์สุขภาพชุมชนพาณิชย์สร้างสุข ประจำปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา
รหัสโครงการ L7250-2-08
ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว
( นางสุพจน์ เรืองน้อย ตำแหน่ง ประธานอสม.ชุมชนภราดร )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......