กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการอบรมให้ความรู้ ลดภาวะแทรกซ้อนโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) ”
ตำบลฆอเลาะ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นายอามิง เจ๊ะปอ




ชื่อโครงการ โครงการอบรมให้ความรู้ ลดภาวะแทรกซ้อนโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD)

ที่อยู่ ตำบลฆอเลาะ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ 68-L2519-1-5 เลขที่ข้อตกลง 10/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการอบรมให้ความรู้ ลดภาวะแทรกซ้อนโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลฆอเลาะ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฆอเลาะ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการอบรมให้ความรู้ ลดภาวะแทรกซ้อนโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD)



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการอบรมให้ความรู้ ลดภาวะแทรกซ้อนโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลฆอเลาะ อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ 68-L2519-1-5 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 20,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ฆอเลาะ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ด้วยปัจจุบันกลุ่มโรคไม่ติดต่อเรื่อรัง (NCD) เป็นปัญหาสำคัญทางสาธารณสุขและมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่าง ต่อเนื่อง โดยเฉพาะโรคเบาหวาน(DM)และ โรคความดันโลหิตสูง (HT) เป็นภัยเงียบที่ส่งผลกระทบทำให้เกิดภาวะโรคแทรกซ้อน ทำให้เกิดความพิการและตายก่อนวัยอันควร การเกิดโรคมีสาเหตุจากหลายปัจจัยเสี่ยงที่มาจากพฤติกรรมการ รับประทานอาหารที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกกำลังกาย และนำไปสู่การเจ็บป่วยแทรกซ้อนที่สำคัญ อาทิ โรคหลอดเลือดสมอง(Strok) โรคไตวายเรื้อรัง (CKD) โรคหัวใจและหลอดเลือด(CVD) โรคจอประสาทตาเสื่อม เป็นต้น     โรคหลอดเลือดสมอง(Stroke) หรือโรคอัมพฤกษ์ อัมพาต เป็นโรคทางระบบประสาทที่พบบ่อยและเป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญซึ่งประเทศไทยคาดว่ามีผู้ป่วยรายใหม่เพิ่มมากขึ้น ในแต่ละปี โรคหลอดเลือดสมองเกี่ยวข้องกับปัจจัยหลายประการได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุ เพศ และปัจจัยด้านพฤติกรรม เช่น การออกกำลังกาย อาหาร การสูบบุหรี่ ดื่ม สุรา และปัจจัยทางกายภาพ เช่น ความคันโลหิต ระดับไขมันในเลือด และเบาหวาน ปัจจัยเหล่านี้ล้วนเป็นความเสี่ยงของแต่ละบุคคลในการนำไปสู่โรคหลอดเลือดสมอง ในระดับที่แตกต่างกัน ซึ่งบุคคลที่มีหลายปัจจัยร่วมกันจะมีโอกาสเสี่ยงต่อโรคมากขึ้น การเจ็บป่วยฉุกเฉินเป็นภาวะที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้คาดการณ์ล่วงหน้าและเป็นภาวะวิกฤตของแต่ละบุคคล หากไม่ได้รับการแก้ไขอย่างทันท่วงที่และเหมาะสมอาจเกิดการสูญเสียชีวิต รวมทั้งเกิดความบกพร่องในการทำงานของอวัยวะ ที่สำคัญ ก่อให้เกิดการบาดเจ็บหรือฉุกเฉินที่เป็นสาเหตุการเสียชีวิตอันดับหนึ่ง ได้แก่ กลุ่มโรคระบบหัวใจและหลอดเลือด (Cardiovascular Disease) ซึ่งกลุ่มโรคดังกล่าวมีแนวโน้มสูงขึ้นเมื่อพิจารณาเป็นรายโรค และพบว่าสาเหตุการเสียชีวิตมาก ที่สุดทั้งในเพศชายและเพศหญิงคือ โรคหลอดเลือดสมอง ซึ่งพบอัตราการเสียชีวิตมากถึงร้อยละ 28 ในเพศหญิง และร้อยละ 10.6 ในเพศชาย ส่วนผู้รอดชีวิตจากกลุ่มโรคหลอดเลือดสมองมักเกิดความพิการหลงเหลือตามมามากที่สุดสถานการณ์โรคหลอดเลือดสมอง ของตำบลมอเลาะ พบว่าปัจจัยที่เป็นสาเหตุสำคัญของการเกิดโรค ได้แก่ การที่ผู้ป่วยมีโรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน และไขมันในเส้นเลือด ไม่ได้รับการรักษาต่อเนื่อง ซึ่งผู้เจ็บป่วยฉุกเฉินเหล่านี้จะต้องได้รับการช่วยเหลือได้อย่างรวดเร็ว ทันเวลา หากได้รับการนำส่งโรงพยาบาลอย่างถูกวิธี และได้รับยาละลายลิ่มเลือดภายในเวลา 4.5 ชั่วโมง นับจากเกิดเหตุ จะส่งผลทำให้ช่วยลดอัตราการเสียชีวิตได้ถึงร้อยละ 30 และลดความพิการที่อาจเกิดตามมาภายหลังได้ จากสถานการณ์ดังกล่าว แสดงให้เห็นว่าโรคหลอดเลือดสมอง ส่งผลทำให้เกิดความพิการทางด้านการเคลื่อนไหว และเสียชีวิตได้ โดยทางโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านตำเสา จึงเห็นความสำคัญถึงการป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง     ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านดำเสา ตำบลมอเลาะ จึงเล็งเห็นถึงความสำคัญของบัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำ"อบรมให้ความรู้ ลดภาวะแทรกซ้อนโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) " ขึ้น โดยการบูรณาการความร่วมมือทุกภาคส่วนเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนร่วมกับบุคลากรสาธารณสุข เพื่อให้มีภาคีเครือข่ายที่เข้มแข็งในการดำเนินงานป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในพื้นที่เพื่อลดความพิการและเสียชีวิตจากโรคหลอดเลือดสมองเนื่องจากโรคเรื้อรังเป็นโรคที่จำเป็นต้องรักษาอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นจึงได้เสนอเพื่อจัดทำโครงการนี้ขึ้น

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. 1. เพื่อประชากรกลุ่มป่วยความดัน เบาหวาน ที่รับยา รพ.สต.บ้านตำเสา ได้รับการปรัเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ 2ส เพื่อลดภาวะแทรกซ้อน
  2. 2. เพื่อประชากรกลุ่มเสี่ยงและส่งสัยป่วย ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ 2ส และสามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
  3. 3. เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วย กลุ่มป่วย โรคความดัน เบาหวาน มีความรู้และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ผู้ป่วยสามารถคุมระดับน้ำตาลได้ และความดันได้ดี

กิจกรรม/การดำเนินงาน

    กลุ่มเป้าหมาย

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
    กลุ่มวัยทำงาน
    กลุ่มผู้สูงอายุ
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 133
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

    ผลที่คาดว่าจะได้รับ

    1.ประชาชนกลุ่มสงสัยป่วย และกลุ่มผู้ป่วย โรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน มีความรู้และเกิดความตระหนักในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การใช้ชีวิตประจำวัน สามารถปฏิบัติตัวได้ถูกต้อง ทำให้กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพดีและสามารถลดความรุนแรงและลดการเกิด โรคแทรกซ้อนได้ และนำไปสู่การมีคุณภาพชีวิตที่ดี 2.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ในเขตรับผิดชอบมารับยาตามนัดมากขึ้น 3. ผู้ป่วยที่มีระดับน้ำตาลในเลือดสูงและความดันสูง สามารถควบคุมได้ดีเพิ่มขึ้น


    ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

    วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
    ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
    กิจกรรมของโครงการ
    ผลผลิต*
    ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

    * ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
    ** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


    ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

    ผลการดำเนินโครงการ

    สรุปผลการดำเนินโครงการ

    ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
    บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
    บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
    ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

     

    ผลผลิตโครงการ

    วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
    1 1. เพื่อประชากรกลุ่มป่วยความดัน เบาหวาน ที่รับยา รพ.สต.บ้านตำเสา ได้รับการปรัเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ 2ส เพื่อลดภาวะแทรกซ้อน
    ตัวชี้วัด : ประชากรกลุ่มป่วยความดัน เบาหวาน ที่รับยา รพ.สต.บ้านตำเสา มีภาวะแทรกซ้อนลดลง ร้อยละ 20

     

    2 2. เพื่อประชากรกลุ่มเสี่ยงและส่งสัยป่วย ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ 2ส และสามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
    ตัวชี้วัด : ประชากรเสี่ยงสูง ได้รับการคัดกรองป่วยรายใหม่ และพบป่วยใหม่ลดลง ร้อยละ 20

     

    3 3. เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วย กลุ่มป่วย โรคความดัน เบาหวาน มีความรู้และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ผู้ป่วยสามารถคุมระดับน้ำตาลได้ และความดันได้ดี
    ตัวชี้วัด : ประชากรกลุ่มป่วยเบาหวาน ความดัน สามารถคุมระดับน้ำตาลได้ และความดันได้ดี ร้อยละ 40

     

    ผู้เข้าร่วมโครงการ

    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 133
    กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
    กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
    กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
    กลุ่มวัยทำงาน -
    กลุ่มผู้สูงอายุ -
    กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
    กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
    กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
    กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
    กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 133
    สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

    บทคัดย่อ*

    โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) 1. เพื่อประชากรกลุ่มป่วยความดัน เบาหวาน ที่รับยา รพ.สต.บ้านตำเสา ได้รับการปรัเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ 2ส เพื่อลดภาวะแทรกซ้อน (2) 2. เพื่อประชากรกลุ่มเสี่ยงและส่งสัยป่วย ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3อ 2ส และสามารถดูแลตนเองได้อย่างถูกต้องเหมาะสม (3) 3. เพื่อให้กลุ่มสงสัยป่วย กลุ่มป่วย โรคความดัน เบาหวาน มีความรู้และสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ผู้ป่วยสามารถคุมระดับน้ำตาลได้ และความดันได้ดี

    ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่

    ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

    หมายเหตุ *

    • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
    • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

    ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

    ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

     

     

     


    โครงการอบรมให้ความรู้ ลดภาวะแทรกซ้อนโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCD) จังหวัด นราธิวาส

    รหัสโครงการ 68-L2519-1-5

    ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

    ................................
    ( นายอามิง เจ๊ะปอ )
    ผู้รับผิดชอบโครงการ
    ......./............/.......

    vertical_align_topไปบนสุด