กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ”
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านตลิ่งชัน หมู่ที่ 2 ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นายเขียน ชูเขียว




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย

ที่อยู่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านตลิ่งชัน หมู่ที่ 2 ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2568-L5179-02-17 เลขที่ข้อตกลง 19/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2568 ถึง 31 กรกฎาคม 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านตลิ่งชัน หมู่ที่ 2 ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย " ดำเนินการในพื้นที่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพบ้านตลิ่งชัน หมู่ที่ 2 ตำบลตลิ่งชัน อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 2568-L5179-02-17 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 พฤษภาคม 2568 - 31 กรกฎาคม 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 19,450.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตลิ่งชัน เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

การส่งเสริมสุขภาพ เป็นมิติหนึ่งทางสุขภาพที่มีความสำคัญมากที่จะช่วยให้การดำรงชีวิตในปัจจุบัน ที่ไม่รู้จักความเป็นอยู่ที่เพียงพอ ทำให้ร่างกายเกิดความเครียด วิตกกังวล การบริโภคอาหารที่เป็นผลต่อสุขภาพ รวมไปถึงการพักผ่อนที่ไม่เพียงพอ และปัญหาต่างๆ ที่ตามมาอีกมากมาย การหันกลับมาสนใจการใช้ชีวิตร่วมกับธรรมชาติ การพึ่งพาธรรมชาติตามแนวคิดทฤษฎีการแพทย์แผนไทยที่มุ่งดูแลสุขภาพแบบองค์รวม โดยอาศัยการนำองค์ความรู้การแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน การแพทย์ทางเลือกรวมถึงการนำเอาธรรมชาติมาใช้เพื่อส่งเสริมสุขภาพ เช่น การรักษาโรคด้วยสมุนไพร การออกกำลังกาย การนวด และประคบด้วยสมุนไพร การรับประทานอาหารตามหลักธรรมชาติบำบัด การทำสมาธิบำบัด การฝึกโยคะเพื่อสุขภาพ เป็นต้น ทั้งนี้ ทางชมรมผู้สูงอายุตำบลตลิ่งชัน จึงเล็งเห็นความสำคัญในการดูแลสุขภาพ และการนำองค์ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทย มาส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ และผู้ดูแลในพื้นที่ได้รบความรู้ และฝึกทักษะต่างๆ ด้านการแพทย์แผนไทย เพื่อนำไปดูแลสุขภาพตนเอง และผู้อื่นให้เกิดประโยชน์สูงสุด

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้ผู้เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจในการนำภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย มาใช้ประโยชน์ในการทำผลิตภัณฑ์ต่างๆจากสมุนไพรเพื่อดูแลสุขภาพตนเอง
  2. เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุและนำไปปฏิบัติเองที่บ้าน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. ประชุมคณะทำงาน
  2. ประชาสัมพันธ์โดยชมรมผู้สูงอายุ
  3. อบรมให้ความรู้เชิงปฎิบัติการ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยวิถีแพทย์แผนไทย
  4. ดำเนินการให้การทำกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพโดยการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น และการแพทย์แผนไทย โดยการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น และการแพทย์แผนไทย โดยการสาธิต สอนวิธีการทำ วิธีการใช้และสรรรพคุณของลูกประคบสมุนไพ
  5. ประเมินผู้สูงอายุที่ได้รับการดูแลสุขภาพตามศาสตร์แพทย์แผนไทย
  6. สรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการ

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  • ประชาชนกลุ่มผู้สูงอายุ มีความรู้ความเข้าใจประโยชน์ของการดูแลสุขภาพตามศาสตร์แพทย์แผนไทยและการออกกำลังกาย และท่ากายบริหารตามศาสตร์แพทย์แผนไทย
  • ประชาชนกลุ่มผู้สูงอายุ มีความรู้เรื่องการบริหารอวัยวะในร่างกาย เพื่อเป็นการคลายกล้ามเนื้อ ทำให้สามารถป้องกันโรคที่เกิดจากการทำงานได้
  • ประชาชนกลุ่มผู้สูงอายุมีความรู้ ความเข้าใจประโยชน์ของลูกประคบสมุนไพร

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

1. ประชุมคณะทำงาน

วันที่ 1 พฤษภาคม 2568 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชุมคณะทำงาน เพื่อร่วมวางแผนการทำงาน และดำเนินกิจกรรมร่วมกัน

งบประมาณ

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 5 คนๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 175 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

คณะทำงานดำเนินโครงการ เข้าใจแผนการดำเนินงาน และได้ทราบแผนการดำเนินงานร่วมกัน

 

5 0

2. ประชาสัมพันธ์โดยชมรมผู้สูงอายุ

วันที่ 5 พฤษภาคม 2568 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประชาสัมพันธ์ประชาสัมพันธ์โครงการผ่านโซเชียลมีเดีย โดยชมรมผู้สูงอายุ

งบประมาณ

  • ไม่มีค่าใช้จ่าย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

ผู้สูงอายุเข้าร่วมโครงการ

 

50 0

3. อบรมให้ความรู้เชิงปฎิบัติการ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยวิถีแพทย์แผนไทย

วันที่ 1 มิถุนายน 2568 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

  • ช่วงเช้า : กิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพโดยการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น และการแพทย์แผนไทย โดยการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น และการแพทย์แผนไทย โดยการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการดูแลผู้สูงอายุตามศาสตร์แพทย์แผนไทย

  • ช่วงบ่าย : กิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพโดยการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น และการแพทย์แผนไทย โดยการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น และการแพทย์แผนไทย โดยการปฏิบัติการออกกำลังท่ากายบริหารฤๅษีดัด ท่ากายบริหารด้วยมณีเวช และการออกกำลังกายแบบจิตประสานกายด้วยเทคนิคสมาธิบำบัด (SKT) ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย

งบประมาณ

  • ค่าวิทยากร จำนวน 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท (ภาคเช้า) เป็นเงิน 1,800 บาท
  • ค่าวิทยากร จำนวน 3 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท (ภาคบ่าย) เป็นเงิน 1,800 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อ จำนวน 50 คนๆ ละ 35 บาท เป็นเงิน 3,500 บาท
  • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 50 คนๆ ละ 80 บาท เป็นเงิน 4,000 บาท
  • ค่าไวนิลโครงการ ขนาด 1.2 x 3 เมตร ตารางเมตรละ 150 บาท เป็นเงิน    540 บาท
  • แผนพับสื่อให้ความรู้ ขนาด A4 จำนวน 50 ชุดๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท
  • ค่าวัสดุอุปกรณ์ในการอบรม ประกอบด้วย
  1. ปากกา จำนวน 50 ด้ามๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน    500 บาท
  2. สมุด จำนวน 50 เล่มๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน    500 บาท
  3. กระเป๋าผ้า จำนวน 50 ใบๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  1. ผู้เข้าร่วมมีความรู้ ความเข้าใจประโยชน์ของการดูแลสุขภาพตามศาสตร์แพทย์แผนไทย และการออกกำลังกาย และท่ากายบริหารตามศาสตร์แพทย์แผนไทย
  2. ผู้เข้าร่วมมีความรู้ ความเข้าใจในการส่งเสริมสุขภาพตนเอง ให้มีสุขภาพดีวิถีไทย

 

50 0

4. ดำเนินการให้การทำกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพโดยการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น และการแพทย์แผนไทย โดยการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น และการแพทย์แผนไทย โดยการสาธิต สอนวิธีการทำ วิธีการใช้และสรรรพคุณของลูกประคบสมุนไพ

วันที่ 2 มิถุนายน 2568 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

จัดทำแผนการให้บริการการดูแลสุขภาพโดยการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น และการแพทย์แผนไทย โดยการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น และการแพทย์แผนไทย โดยการสาธิต และสอนวิธีการทำลูกประคบสมุนไพรในผู้สูงอายุ

งบประมาณ

  • ไพล จำนวน 3 กิโลกรัมๆ ละ 160 บาท เป็นเงิน 480  บาท
  • ขมิ้นชัน จำนวน 1 กิโลกรัมๆ ละ 180 บาท เป็นเงิน 180 บาท
  • ตะไคร้ จำนวน 1.5 กิโลกรัมๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน  75 บาท
  • ผิวมะกรูด จำนวน 1.5 กิโลกรัมๆ ละ 140 บาท เป็นเงิน 210 บาท
  • ใบมะขาม จำนวน 1 กิโลกรัมๆ ละ 100 บาท เป็นเงิน 100 บาท
  • ใบส้มป่อย จำนวน 1 กิโลกรัมๆ ละ 140 บาท เป็นเงิน  140 บาท
  • เกลือแกง จำนวน 1 กิโลกรัมๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน  30 บาท
  • การบูร จำนวน 300 กรัม เป็นเงิน 210 บาท
  • พิมเสน จำนวน 300 กรัม เป็นเงิน 390 บาท
  • ผ้าดิบ จำนวน 13 หลาๆ ละ 45 บาท เป็นเงิน 585 บาท
  • เชือก จำนวน 2 ม้วนๆ ละ 155 บาท เป็นเงิน 310 บาท
  • ถุงลูกประคบ จำนวน 2 แพค ๆ ละ 80 บาท เป็นเงิน 160 บาท
  • กะละมัง จำนวน 5 อันๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 125 บาท
  • จวักตักสมุนไพร จำนวน 5 ด้ามๆ ละ 20 บาท เป็นเงิน 100 บาท
  • สติกเกอร์ จำนวน 3 แผ่นๆ ละ 80 บาท เป็นเงิน 240 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • ผู้เข้าร่วมมีความรู้ ความเข้าใจประโยชน์ของลูกประคบสมุนไพร
  • ผู้เข้าร่วมมีความรู้ ความเข้าใจในการส่งเสริมสุขภาพตนเอง ให้มีสุขภาพดีวิถีไทย

 

50 0

5. ประเมินผู้สูงอายุที่ได้รับการดูแลสุขภาพตามศาสตร์แพทย์แผนไทย

วันที่ 1 กรกฎาคม 2568 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

ประเมินผู้สูงอายุที่ได้รับการทำกิจกรรมการดูแลสุขภาพตามศาสตร์แพทย์แผนไทย และวิธีการทำลูกประคบสมุนไพรโดยการประเมินผู้เข้าร่วมจากการปฏิบัติและตอบคำถามในการเข้าร่วมโครงการ

งบประมาณ

  • ไม่มีค่าใช้จ่าย

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

  • แบบประเมินความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม
  • ผู้เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจในการส่งเสริมสุขภาพตนเอง ให้มีสุขภาพดีวิถีไทย
  • ผู้เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจประโยชน์ของการดูแลสุขภาพตามศาสตร์แพทย์แผนไทยและการออกกำลังกายและท่ากายบริหารตามศาสตร์แพทย์แผนไทย
  • ผู้เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจประโยชน์ของลูกประคบสมุนไพร

 

50 0

6. สรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการ

วันที่ 1 กรกฎาคม 2568 เวลา 09:00 น.

กิจกรรมที่ทำ

สรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการ ส่งให้กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลตลิ่งชัน

งบประมาณ

  • ค่าเล่มรายงาน จำนวน 1 เล่มๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน 300 บาท

ผลผลิต/ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น

รายงานสรุปผลการดำเนินงานโครงการ

 

5 0

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้ผู้เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจในการนำภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย มาใช้ประโยชน์ในการทำผลิตภัณฑ์ต่างๆจากสมุนไพรเพื่อดูแลสุขภาพตนเอง
ตัวชี้วัด : ร้อยละของกลุ่มผู้สูงอายุใช้ประโยชน์ในการทำผลิตภัณฑ์ต่างๆจากสมุนไพรเพื่อดูแลสุขภาพตนเอง
52.59 70.25

 

2 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุและนำไปปฏิบัติเองที่บ้าน
ตัวชี้วัด : ร้อยละของกลุ่มผู้สูงอายุที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ
51.78 72.34

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 100
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 50
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้ผู้เข้าร่วมมีความรู้ความเข้าใจในการนำภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย มาใช้ประโยชน์ในการทำผลิตภัณฑ์ต่างๆจากสมุนไพรเพื่อดูแลสุขภาพตนเอง (2) เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุและนำไปปฏิบัติเองที่บ้าน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) ประชุมคณะทำงาน (2) ประชาสัมพันธ์โดยชมรมผู้สูงอายุ (3) อบรมให้ความรู้เชิงปฎิบัติการ เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยวิถีแพทย์แผนไทย (4) ดำเนินการให้การทำกิจกรรมการส่งเสริมสุขภาพโดยการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น และการแพทย์แผนไทย โดยการใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่น และการแพทย์แผนไทย โดยการสาธิต สอนวิธีการทำ วิธีการใช้และสรรรพคุณของลูกประคบสมุนไพ (5) ประเมินผู้สูงอายุที่ได้รับการดูแลสุขภาพตามศาสตร์แพทย์แผนไทย (6) สรุปรายงานผลการดำเนินงานโครงการ

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 2568-L5179-02-17

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นายเขียน ชูเขียว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด