กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

directions_run

โครงการพัฒนาระบบปฏิบัติการฉุกเฉินสำหรับผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉินคลุ้มคลั่งจากยาเสพติดแบบบูรณาการในพื้นที่ตำบลบางกล่ำ ปีงบประมาณ 2568

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการพัฒนาระบบปฏิบัติการฉุกเฉินสำหรับผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉินคลุ้มคลั่งจากยาเสพติดแบบบูรณาการในพื้นที่ตำบลบางกล่ำ ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลบางกล่ำ อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
แพทย์หญิงยุฑามาศ วันดาว




ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาระบบปฏิบัติการฉุกเฉินสำหรับผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉินคลุ้มคลั่งจากยาเสพติดแบบบูรณาการในพื้นที่ตำบลบางกล่ำ ปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลบางกล่ำ อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5210-02-01 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการพัฒนาระบบปฏิบัติการฉุกเฉินสำหรับผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉินคลุ้มคลั่งจากยาเสพติดแบบบูรณาการในพื้นที่ตำบลบางกล่ำ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางกล่ำ อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางกล่ำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการพัฒนาระบบปฏิบัติการฉุกเฉินสำหรับผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉินคลุ้มคลั่งจากยาเสพติดแบบบูรณาการในพื้นที่ตำบลบางกล่ำ ปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการพัฒนาระบบปฏิบัติการฉุกเฉินสำหรับผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉินคลุ้มคลั่งจากยาเสพติดแบบบูรณาการในพื้นที่ตำบลบางกล่ำ ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางกล่ำ อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5210-02-01 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 มิถุนายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 25,200.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางกล่ำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

ปัจจุบันมีผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉินและคลุ้มคลั่งจากยาเสพติดเป็นจำนวนมาก จากสถานการณ์ผู้ป่วยเข้ารับการบำบัดยาเสพติด บสต. ปีงบประมาณ 2566 เข้ารับการบำบัด 125,091 คน เป็นผู้ใช้ 7,515 คน ผู้เสพ 35,466 คน และผู้ติด 42,089 คน ซึ่งจังหวัดสงขลาได้พัฒนาแนวทางการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตสุขภาพจิตแบบไร้รอยต่อและบูรณาการในพื้นที่ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้ผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉินและคลุ้มคลั่งจากยาเสพติด ที่มีลักษณะทำร้ายตนเอง ทำร้ายผู้อื่นและทำลายข้าวของ ได้เข้าถึงบริการอย่างทั่วถึงครอบคลุมเท่าเทียมและได้รับการรักษาในสถานพยาบาลที่เหมาะสม โดยอำเภอบางกล่ำจะต้องดำเนินงานแบบบูรณาการ ซึ่งประกอบไปด้วยการจัดตั้งคณะทำงานแกนหลักการสำรวจสถานการณ์กลุ่มเสี่ยงและความพร้อมของทรัพยากรด้านผู้ให้บริการ การจัดกระบวนการในชุมชนโดยสร้างความตระหนักผ่านการคืนข้อมูลกลุ่มเสี่ยงและผลกระทบ รวมทั้งระดมสมองวางมาตรการแนวทางสู่การเป็นชุมชนจัดการตนเอง มีศูนย์รับแจ้งเหตุและสั่งการที่เกี่ยวข้อง มีพื้นที่และแนวทางการดูแลผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉินรวมทั้งการประสานส่งต่อโรงพยาบาลจิตเวชแม่ข่าย ผู้ปฏิบัติการฉุกเฉินได้รับการพัฒนาศักยภาพด้านทักษะการพูดเกลี้ยกล่อม การผูกยึดผู้ป่วยฉุกเฉินอย่างปลอดภัยและเทคนิคการป้องกันตัว มีการกำกับและติดตาม รวมทั้งประเมินแนวทางผ่านการซ้อมแผนในรูปแบบฝึกซ้อมแผนบนโต๊ะและสถานการณ์จำลอง รวมทั้งถอดบทเรียนจากการช่วยเหลือผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉินและคลุ้มคลั่งจากยาเสพติดในสถานการณ์จริงจากยาเสพติดแบบบูรณาการ ในพื้นที่ตำบลบางกล่ำ เพื่อดำเนินงานตามกิจกรรมดังกล่าว ซึ่งเป็นการพัฒนาระบบบริการด้านสุขภาพจิตและยาเสพติดให้ครอบคลุมและมีคุณภาพรวมทั้งผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉินคลุ้มคลั่งจากยาเสพติดได้รับการดูแลแบบไร้รอยต่อและบูรณาการที่สอดคล้องกับบริบทในพื้นที่ต่อไป

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อสำรวจ สถานการณ์กลุ่มเสี่ยงผู้ป่วยฉุกเฉินคลุ้มคลั่งจากยาเสพติดและความพร้อมรับสถานการณ์ในพื้นที่
  2. เพื่อสร้างมาตรการการรับส่งต่อผู้ป่วย แนวทางการประสานงานศูนย์รับแจ้งเหตุรวมถึงเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง สู่การเป็นชุมชนจัดการตนเอง
  3. เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ให้มีทักษะในการเผชิญเหตุผู้ป่วยคลุ้มคลั่ง สัญญาณเตือน ด้านทักษะการพูดเกลี้ยกล่อม การผูกยึดผู้ป่วยฉุกเฉินอย่างปลอดภัยและเทคนิคการป้องกันตัว
  4. เพื่อกำกับติดตามและประเมินแนวทางผ่านการซ้อมแผนในรูปแบบฝึกซ้อมแผนบนโต๊ะและสถานการณ์จำลองรวมทั้งถอดบทเรียนการช่วยเหลือผู้ป่วยจิตเวชคลุ้มคลั่งจากยาเสพติดในสถานการณ์จริง

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการพัฒนาระบบปฏิบัติการฉุกเฉินสำหรับผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉินคลุ้มคลั่งจากยาเสพติดแบบบูรณาการในพื้นที่ตำบลบากล่ำ ปีงบประมาณ 2568

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. มีแนวทางการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤตสุขภาพจิตและผู้ป่วยจิตเวชคลุ้มคลั่งจากยาเสพติดแบบไร้รอยต่อมีการบูรณาการร่วมกันในพื้นที่ตำบลบางกล่ำ
  2. ผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ ได้รับการพัฒนาทักษะด้านการพูดเกลี้ยกล่อม การผูกยึดผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉินได้อย่างปลอดภัยและเทคนิคการป้องกันตัว
  3. มีการกำกับติดตามและประเมินแนวทางผ่านการซ้อมแผนในรูปแบบฝึกซ้อมแผนบนโต๊ะและสถานการณ์จำลอง รวมทั้งถอดบทเรียนการช่วยเหลือผู้ป่วยจิตเวชคลุ้มคลั่งจากยาเสพติดในพื้นที่

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อสำรวจ สถานการณ์กลุ่มเสี่ยงผู้ป่วยฉุกเฉินคลุ้มคลั่งจากยาเสพติดและความพร้อมรับสถานการณ์ในพื้นที่
ตัวชี้วัด : มีรายงานสถานการณ์กลุ่มเสี่ยงผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉินและกลุ่มจิตเวชคลุ้มคลั่งจากยาเสพติดในพื้นที่ อำเภอบางกล่ำ

 

2 เพื่อสร้างมาตรการการรับส่งต่อผู้ป่วย แนวทางการประสานงานศูนย์รับแจ้งเหตุรวมถึงเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง สู่การเป็นชุมชนจัดการตนเอง
ตัวชี้วัด : มีแนวทางประสานงานศูนย์รับแจ้งเหตุและเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง ในการรับส่งต่อผู้ป่วย

 

3 เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ให้มีทักษะในการเผชิญเหตุผู้ป่วยคลุ้มคลั่ง สัญญาณเตือน ด้านทักษะการพูดเกลี้ยกล่อม การผูกยึดผู้ป่วยฉุกเฉินอย่างปลอดภัยและเทคนิคการป้องกันตัว
ตัวชี้วัด : ผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องได้รับการพัฒนาทักษะด้านการพูดเกลี้ยกล่อม การผูกยึดผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉินได้อย่างปลอดภัยและเทคนิกการป้องกันตัว

 

4 เพื่อกำกับติดตามและประเมินแนวทางผ่านการซ้อมแผนในรูปแบบฝึกซ้อมแผนบนโต๊ะและสถานการณ์จำลองรวมทั้งถอดบทเรียนการช่วยเหลือผู้ป่วยจิตเวชคลุ้มคลั่งจากยาเสพติดในสถานการณ์จริง
ตัวชี้วัด : มีแผนปฏิบัติการ ซ้อมแผนบนโต๊ะและสถานการณ์จำลอง อย่างน้อย 1 ครั้ง

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อสำรวจ สถานการณ์กลุ่มเสี่ยงผู้ป่วยฉุกเฉินคลุ้มคลั่งจากยาเสพติดและความพร้อมรับสถานการณ์ในพื้นที่ (2) เพื่อสร้างมาตรการการรับส่งต่อผู้ป่วย แนวทางการประสานงานศูนย์รับแจ้งเหตุรวมถึงเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง สู่การเป็นชุมชนจัดการตนเอง (3) เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ให้มีทักษะในการเผชิญเหตุผู้ป่วยคลุ้มคลั่ง สัญญาณเตือน ด้านทักษะการพูดเกลี้ยกล่อม การผูกยึดผู้ป่วยฉุกเฉินอย่างปลอดภัยและเทคนิคการป้องกันตัว (4) เพื่อกำกับติดตามและประเมินแนวทางผ่านการซ้อมแผนในรูปแบบฝึกซ้อมแผนบนโต๊ะและสถานการณ์จำลองรวมทั้งถอดบทเรียนการช่วยเหลือผู้ป่วยจิตเวชคลุ้มคลั่งจากยาเสพติดในสถานการณ์จริง

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการพัฒนาระบบปฏิบัติการฉุกเฉินสำหรับผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉินคลุ้มคลั่งจากยาเสพติดแบบบูรณาการในพื้นที่ตำบลบากล่ำ ปีงบประมาณ 2568

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการพัฒนาระบบปฏิบัติการฉุกเฉินสำหรับผู้ป่วยจิตเวชฉุกเฉินคลุ้มคลั่งจากยาเสพติดแบบบูรณาการในพื้นที่ตำบลบางกล่ำ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5210-02-01

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( แพทย์หญิงยุฑามาศ วันดาว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด