กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการหนูน้อยชวนพ่อเลิกบุหรี่ ปีงบประมาณ 2568 ”
ตำบลบางกล่ำ อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางสาวยุฑามาศ วันดาว




ชื่อโครงการ โครงการหนูน้อยชวนพ่อเลิกบุหรี่ ปีงบประมาณ 2568

ที่อยู่ ตำบลบางกล่ำ อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5210-01-05 เลขที่ข้อตกลง

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 3 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการหนูน้อยชวนพ่อเลิกบุหรี่ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบางกล่ำ อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางกล่ำ ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการหนูน้อยชวนพ่อเลิกบุหรี่ ปีงบประมาณ 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการหนูน้อยชวนพ่อเลิกบุหรี่ ปีงบประมาณ 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบางกล่ำ อำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ 68-L5210-01-05 ระยะเวลาการดำเนินงาน 3 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 27,460.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บางกล่ำ เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากการสำรวจสถานการณ์ด้านพฤติกรรมการบริโภคยาสูบของคนไทยทั่วประเทศครั้งล่าสุด โดยศูนย์วิจัยและจัดการความรู้เพื่อการควบคุมยาสูบ มหาวิทยาลัยมหิดล (ศจย.) เมื่อ พ.ศ. 2560 พบว่า มีคนไทยที่อายุเกิน 15 ปีและยังติดบุหรี่หรือผลิตภัณฑ์ยาสูบหรือนิโคตินชนิดมีควันอยู่มากถึง 10.7 ล้านคน (ร้อยละ 19.1) โดยในจำนวนนี้พบว่าส่วนใหญ่เป็นเพศชาย โดยมีชายไทยที่ติดนิโคตินอยู่ ที่ร้อยละ 37.7 ของชายไทยทั้งหมด และมีเพศหญิงเพียงร้อยละ 1.7 โดยค่าเฉลี่ยของการได้รับนิโคตินต่อวันอยู่ที่ 10 มวนต่อวัน แต่ต้องได้รับนิโคตินมวนแรกภายใน 30 นาทีแรกหลังตื่นนอนมากถึงร้อยละ 60.6 จากข้อมูลดังกล่าว ย่อมบ่งชี้ให้เห็นว่า ยังมีชายไทยมากกว่า 1 ใน 3 ที่ยังติดนิโคตินและในจำนวนนี้ เกินครึ่งหนึ่งเป็นผู้ที่ติดนิโคตินในระดับรุนแรง ปัจจุบันมีคนไทยสูบบุหรี่ถึง 10.8 ล้านคน และยังพบว่าร้อยละ 39.5 ของครัวเรือนไทยมีผู้ที่สูบบุหรี่ในบ้านและร้อยละ 27.8 เป็นผู้ที่สูบบุหรี่ในบ้านทุกวัน การสูบบุหรี่นอกจากจะทำให้เกิดผลกระทบต่อผู้สูบ ยังก่อให้เกิดผลกระทบต่อผู้ได้รับควันบุหรี่มือสองอีกด้วย ผู้ที่ได้รับควันบุหรี่มือสองมีโอกาสเกิดผลกระทบต่อสุขภาพได้ไม่แตกต่างจากผู้ที่สูบบุหรี่ และจากการสำรวจของสถานบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี พบว่า เด็กที่อาศัยในบ้านที่มีผู้สูบบุหรี่ เกิดการเจ็บป่วยมากกว่าเด็กในบ้านที่ไม่มีการสูบบุหรี่ ส่วนเด็กเล็ก ที่ได้รับควันบุหรี่มือสอง ก่อให้เกิดความเจ็บป่วยด้วยโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ เช่น หลอดลมอักเสบและปลอดบาม สูงกว่าเด็กทั่วไป และมีอัตราการเกิดโรคหอบหืดเพิ่มขึ้น ดังนั้นพ่อ แม่ ผู้ปกครองควรหันมาดูแลสุภาพครอบครัวและเป็นตัวอย่างที่ดีโดยการไม่สูบบุหรี่สำหรับเยาวชน โรงพยาบาลบางกล่ำ จึงได้จัดทำโครงการหนูน้อยชวนพ่อเลิกบุหรี่ ปี 2568 เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงของการเสียชีวิตอันดับต้นของคนไทยที่สามารถป้องกันได้โดยการช่วยเหลือให้ผู้สูบบุหรี่เลิกสูบและป้องกันหรือลดจำนวนนักสูบหน้าใหม่และผู้ได้รับผลกระทบจากควันบุหรี่มือสองให้ห่างไกลจากบุหรี่

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อลดการสูบบุหรี่ในกลุ่มผู้ปกครอง
  2. ไม่เกิดผู้สูบหน้าใหม่ในสถานศึกษา
  3. เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยของบุหรี่และเป็นตัวอย่างที่ดีให้แก่เยาวชน

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. โครงการหนูน้อยชวนพ่อเลิกบุหรี่ ปีงบประมาณ 2568

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

  1. จำนวนผู้สูบบุหรี่วัยทำงานลดลง
  2. เยาวชนไม่สูบหุรี่ลดจำนวนผู้สูบหน้าใหม่
  3. ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับพิษภัยจากการสูบบุหรี่
  4. ส่งเสริมสถาบันครอบครัวการเป็นตัวอย่างที่ดีให้กับเยาวชน

ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อลดการสูบบุหรี่ในกลุ่มผู้ปกครอง
ตัวชี้วัด : 1. ผู้ปกครองที่สูบบุหรี่เข้าร่วมโครงการ ร้อยละ 30 2. ผู้เข้าร่วมโครงการ เข้ารับการบำบัดและสามารถหยุดสูบบุหรี่ต่อเนื่อง 6 เดือน ร้อยละ 10

 

2 ไม่เกิดผู้สูบหน้าใหม่ในสถานศึกษา
ตัวชี้วัด : เยาวชนในสถานศึกษาไม่สูบหรี่ ร้อยละ 80

 

3 เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยของบุหรี่และเป็นตัวอย่างที่ดีให้แก่เยาวชน
ตัวชี้วัด : ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยของบุหรี่ร้อยละ 80

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 50
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
กลุ่มวัยทำงาน 30
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อลดการสูบบุหรี่ในกลุ่มผู้ปกครอง (2) ไม่เกิดผู้สูบหน้าใหม่ในสถานศึกษา (3) เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพิษภัยของบุหรี่และเป็นตัวอย่างที่ดีให้แก่เยาวชน

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) โครงการหนูน้อยชวนพ่อเลิกบุหรี่ ปีงบประมาณ 2568

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการหนูน้อยชวนพ่อเลิกบุหรี่ ปีงบประมาณ 2568 จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ 68-L5210-01-05

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางสาวยุฑามาศ วันดาว )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด