กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก ”
ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา



หัวหน้าโครงการ
นางจุฑามาศ พุ่มมา




ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก

ที่อยู่ ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ l8401-68-07 เลขที่ข้อตกลง 06/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 เมษายน 2568 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก จังหวัดสงขลา" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหวัง ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา รหัสโครงการ l8401-68-07 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 เมษายน 2568 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 38,050.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งหวัง เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

จากสภาพเศรษฐกิจและสังคมยุคโลกาภิวัตน์ การเข้ามาซึ่งวัฒนธรรมตะวันตก สื่อเทคโนโลยีทันสมัยกับวัยหัวเลี้ยวหัวต่อที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะในการเผชิญสังคมยุคใหม่ ส่งผลกระทบถึงปัญหาเด็กและเยาวชนตั้งครรภ์ไม่พร้อม ซึ่งสังคมกำลังให้ความสนใจ การแก้ปัญหาต้องอาศัยความร่วมมือหลายภาคส่วน เพื่อดำเนินงานและการแก้ปัญหาเด็กและเยาวชนตั้งครรภ์ไม่พร้อม จากสถิติประเทศไทยติดอันดับ ๑ในทวีปเอเชียและอันดับ๓ ระดับโลกที่มีเด็กและเยาวชนตั้งครรภ์มากที่สุดส่งผลต่อพฤติกรรมไม่เหมาะสม ซึ่งมีผลกระทบตามมาในระยะยาวในเรื่องพัฒนาประเทศด้านต่าง ๆ มากมาย จากการประเมินผลการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็กพบว่า โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านทรายขาวมีอัตราการคลอดบุตร น้อยกว่า ๒o ปี มีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อย ๆ จากร้อยละ ๙ ในปีงบประมาณ ๒๕๖7 เป็นร้อยละ ๑๑.๗ ปีงบประมาณ ๒๕๖๖ ซึ่งเกณฑ์กำหนดไม่เกินร้อยละ ๑o ซึ่งปัญหาวัยรุ่นตั้งครรภ์ส่งผลทางด้านสังคมเป็นอย่างมาก จากกาสำรวจความเห็นวัยรุ่นไทยว่าคิดอย่างไรกับพ่อแม่ พบว่าแม้กว่าร้อยละ ๙๐ ยืนยันว่า “แม่” คือบุคคลที่สำคัญที่สุดในชีวิต แต่ก็ยอมรับว่าตนเองมีความลับกับแม่เรื่องความรัก และเรื่องการคบเพื่อนต่างเพศมากที่สุด ดังนั้นวัยรุ่นไทยส่วนใหญ่จึงไม่กล้าสื่อสารกับ พ่อแม่ ผู้ปกครอง ทั้งที่พ่อแม่คือคนที่วัยรุ่นอยากพูดคุย ปรึกษาเมื่อมีปัญหาในเรื่องความรัก เรื่องแฟนมากที่สุด อาจเพราะกลัวพ่อแม่เสียใจกับพฤติกรรมของตน กลัวถูกดุด่าว่ากล่าวหรือไม่ชอบให้นำพฤติกรรมของตนไปเปรียบเทียบกับครอบครัวอื่น หรือกระทั่งเปรียบเทียบกับสมัยที่พ่อแม่เป็นวัยรุ่นก็ตาม ดังนั้นการส่งเสริมการสื่อสารระหว่างพ่อแม่ผู้ปกครองกับบุตรหลานเพื่อเสริมสร้างบทบาทครอบครัวในการส่งเสริมสุขภาวะทางเพศในเยาวชน โดยมุ่งให้พ่อแม่ที่มีลูกวัยรุ่น มีความรู้ ความเข้าใจ มีทัศนคติที่ดีในเรื่องเพศ และมีทักษะในการสื่อสารเรื่องเพศอย่างสร้างสรรค์ภายในครอบครัว มารดาวัยรุ่นมักไม่แต่งงาน มีปัญหาการหย่าร้างสูงไม่มีอาชีพ มีโอกาสทำผิดกฎหมายสูงทำแท้ง ทอดทิ้ง ไม่ได้รับการดูแลเป็นปัญหาสังคมเยาวชนหยุดเรียน ส่งผลต่อการพัฒนาประเทศ ผลต่ออารมณ์ จิตใจ สังคม เครียด ซึมเศร้า กังวลสร้างบาดแผลอันเจ็บปวดแห่งความทรงจำไม่รู้ลืม ไม่ได้ศึกษาต่อหรือจบช้า หางานลำบากเนื่องจากขาดคุณวุฒิ ขาดทักษะในการเป็นผู้ปกครอง และการเลี้ยงดูบุตร พฤติกรรมเสี่ยงยาเสพติด รวมทั้งโรคทางเพศสัมพันธ์ซึ่งครอบครัว มารดาวัยรุ่นมักไม่แต่งงาน มีปัญหาการหย่าร้างสูงไม่มีอาชีพ มีโอกาสทำผิดกฎหมายสูงทำแท้ง ทอดทิ้ง ไม่ได้รับการดูแลเป็นปัญหาสังคมเยาวชนหยุดเรียน ส่งผลต่อการพัฒนาประเทศ ผลต่ออารมณ์ จิตใจ สังคม เครียด ซึมเศร้า กังวลสร้างบาดแผลอันเจ็บปวดแห่งความทรงจำไม่รู้ลืม ไม่ได้ศึกษาต่อหรือจบช้า หางานลำบากเนื่องจากขาดคุณวุฒิ ขาดทักษะในการเป็นผู้ปกครอง และการเลี้ยงดูบุตร พฤติกรรมเสี่ยงยาเสพติด รวมทั้งโรคทางเพศสัมพันธ์ซึ่งมักมีผลโดยตรงต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารกที่อยู่ในครรภ์ตลอดจนถึงระยะหลังคลอด ภาวะเสี่ยงของมารดาหรือเกิดในหญิงตั้งครรภ์จะมีผลกระทบเป็นอันตรายต่อเด็กที่อยู่ในครรภ์ด้วย เช่น โรคติดเชื้อ โรคถ่ายทอดทางพันธุกรรม ปัญหาการขาดสารอาหาร โรคเกี่ยวกับต่อมไร้ท่อ โรคต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับความผิดปกติของเม็ดเลือด ภาวะครรภ์เป็นพิษ ภาวะการคลอดติดขัด การดูแลสุขภาพหญิงมีครรภ์ การมีส่วนร่วมของชุมชนโดยมีภาคีเครือข่ายภาครัฐและเอกชน ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือกระตุ้นให้เกิดการดำเนินงานอย่างต่อเนื่อง และเป็นแหล่งเรียนรู้แก่ชุมชนอื่น ๆ โดยการรณรงค์การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว ๖ เดือนสนับสนุนให้ครอบครัวมีความอบอุ่นจากการเสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจโดยมุ่งเน้นให้ทุกคนมีความตระหนักถึงความสำคัญในการส่งเสริมสถาบันครอบครัวให้มีความมั่นคงเพื่อสร้างเยาวชนรุ่นใหม่ที่มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี โดยเริ่มต้นจากครอบครัวให้ลูกได้ดื่มนมแม่ เพราะน้ำนมแม่ เป็นอาหารที่ดีที่สุด สำหรับทารกแรกเกิด ไม่มีอาหารชนิดใดที่เหมาะสมกับทารกเท่ากับน้ำนมแม่ เป็นสิ่งที่ธรรมชาติกำหนดมา ให้ใช้เลี้ยงดูบุตร โดยมีคุณค่าสารอาหารครบถ้วน ตามความต้องการของทารก การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ในขวบปีแรกจะช่วยให้เด็กมีการพัฒนาทั้งทางด้านร่างกาย สติปัญญา ร่วมกับการพัฒนาทางด้านอารมณ์เด็กจะมีความสุข มั่นใจในสิ่งแวดล้อม นำไปสู่ความรู้สึกไว้วางใจในบุคคล ซึ่งเป็นพื้นฐานสำคัญของการพัฒนาการของเด็กในแต่ละช่วงวัยต่อไป ด้วยเหตุนี้ รพ.สต.บ้านทรายขาว จึงจัดทำโครงการโครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก โดยมีกิจกรรมต่าง ๆ เช่น การให้ความรู้พ่อแม่หรือผู้ปกครองที่มีลูกวัยรุ่น เน้นทักษะเรื่องเพศ กิจกรรมรวมพลคนกินนมแม่ และกิจกรรมดูแลหญิงตั้งครรภ์ปกติ และครรภ์เสี่ยง ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก ส่งเสริมสุขภาพช่องปากและฟัน โดยสนับสนุนให้ครอบครัว ชุมชน  มีส่วนร่วมอันนำไปสู่การพัฒนาคุณภาพ แก่ เด็กเยาวชน หญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด เด็ก ๐-๕ ปี ในพื้นที่ หมู่ ๔ - ๘ ตำบลทุ่งหวัง เพื่อการแก้ปัญหาอย่างเป็นรูปธรรม ให้ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย พัฒนาการสมวัย ห่างไกลฟันผุ

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. ๑. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน ๑๒ สัปดาห์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๕
  2. ๒. เพื่อส่งเสริมให้เกิดความตระหนักในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว ๖ เดือนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖o
  3. 3. เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของหญิงตั้งครรภ์ให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานและทารกมีน้ำหนักไม่ต่ำ ๒,๕๐๐ กรัม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 7
  4. 4. หญิงหลังคลอดได้รับการเยี่ยมหลังคลอดครบ 3 ครั้ง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
  5. 5. เด็ก 0 – 5 ปี ได้รับการติดตามพัฒนาการตามช่วงวัย
  6. 6. เด็ก 0 – 5 ปี ได้รับการตรวจช่องปากและเคลือบฟลูออไรด์

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. กิจกรรมขณะตั้งครรภ์
  2. กิจกรรมระยะหลังคลอด
  3. กิจกรรมรวมพลคนกินนมแม่ (ครอบครัวนมแม่ ประกอบด้วย พ่อแม่ ผู้ดูแลเด็ก ปู่ย่าตายาย)
  4. - ค่าชุดบำรุงครรภ์สำหรับหญิงตั้งครรภ์ทีมีภาวะครรภ์เสี่ยง (ไข่) จำนวน 30 คนๆ ละ ๔ แผงๆละ ๑๕๐ บาท เป็นเงิน 18,000 บาท - ค่าชุดอุปกรณ์ฝึกทักษะการแปรงฟัน ชุดละ 30 บาท จำนวน 30 ชุด เป็นเงิน 900 บาท
  5. - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 2 ปี ในกิจกรรมให้ความรู้กลุ่มย่อย จำนวน 1 มื้อๆละ ๒๕ บาท จำนวน 125 คน เป็นเงิน ๓,125 บาท - อุปกรณ์ทำความสะอาดช่องปากเด็กสำหรับฝึกทักษะ จำนวน ชุดละ 25 บาท เป็นเงิน 3,125 บาท - ฟลูออไรด์วานิช
  6. ๑. พ่อแม่ผู้ปกครองเกิดการวิเคราะห์ตนเองและสิ่งแวดล้อมเห็นช่องว่างทางความคิดและวิถีชีวิตระหว่างคนต่างรุ่นและผลที่ตามมา ๒. พ่อแม่ผู้ปกครองเกิดทัศนะที่เปิดกว้างในเรื่องเพศวิถีและรับฟังมากขึ้นจากการได้มุมมองที่แตกต่างหลากหลาย หญิงมีครรภ์และหญิงหลังคลอดและครอบ
  7. - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน ๑ มื้อ ๆ ละ ๕๐ บาท จำนวน ๖๐ คน เป็นเงิน ๓,๐๐๐ บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน ๒ มื้อๆละ ๒๕ บาท จำนวน ๖๐ คน เป็นเงิน ๓,๐๐๐ บาท - ค่าป้ายไวนิล ขนาด ๑ x ๓ เมตร จำนวน ๑ ป้าย เป็นเงิน 500 บาท - ชุดสาธิตอาหา

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 236
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

๑. พ่อแม่ผู้ปกครองเกิดการวิเคราะห์ตนเองและสิ่งแวดล้อมเห็นช่องว่างทางความคิดและวิถีชีวิตระหว่างคนต่างรุ่นและผลที่ตามมา ๒. พ่อแม่ผู้ปกครองเกิดทัศนะที่เปิดกว้างในเรื่องเพศวิถีและรับฟังมากขึ้นจากการได้มุมมองที่แตกต่างหลากหลาย หญิงมีครรภ์และหญิงหลังคลอดและครอบครัวมีความตระหนักในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ได้อย่างต่อเนื่องอย่างน้อย ๖ เดือน
๓. เกิดบุคคลต้นแบบ”การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย ๖ เดือน”
๔. มารดามีความรู้เรื่องภาวะโภชนาการขณะตั้งครรภ์ได้ถูกต้อง และทารกหลังคลอด มีน้ำหนักมากว่า ๒,๕๐๐ กรัม ๕. วัยรุ่นมีทักษะชีวิตในเรื่องเพศศึกษา


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 ๑. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน ๑๒ สัปดาห์ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๕
ตัวชี้วัด :

 

2 ๒. เพื่อส่งเสริมให้เกิดความตระหนักในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว ๖ เดือนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖o
ตัวชี้วัด :

 

3 3. เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของหญิงตั้งครรภ์ให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานและทารกมีน้ำหนักไม่ต่ำ ๒,๕๐๐ กรัม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 7
ตัวชี้วัด :

 

4 4. หญิงหลังคลอดได้รับการเยี่ยมหลังคลอดครบ 3 ครั้ง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75
ตัวชี้วัด :

 

5 5. เด็ก 0 – 5 ปี ได้รับการติดตามพัฒนาการตามช่วงวัย
ตัวชี้วัด :

 

6 6. เด็ก 0 – 5 ปี ได้รับการตรวจช่องปากและเคลือบฟลูออไรด์
ตัวชี้วัด :

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 326
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 236
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 30
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง -
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ๑. เพื่อให้หญิงตั้งครรภ์ฝากครรภ์ก่อน ๑๒ สัปดาห์  ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๗๕ (2) ๒. เพื่อส่งเสริมให้เกิดความตระหนักในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว ๖ เดือนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๖o (3) 3. เพื่อเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการของหญิงตั้งครรภ์ให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐานและทารกมีน้ำหนักไม่ต่ำ ๒,๕๐๐ กรัม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 7 (4) 4. หญิงหลังคลอดได้รับการเยี่ยมหลังคลอดครบ 3 ครั้ง ไม่น้อยกว่าร้อยละ 75 (5) 5. เด็ก 0 – 5 ปี ได้รับการติดตามพัฒนาการตามช่วงวัย (6) 6. เด็ก 0 – 5 ปี ได้รับการตรวจช่องปากและเคลือบฟลูออไรด์

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) กิจกรรมขณะตั้งครรภ์ (2) กิจกรรมระยะหลังคลอด (3) กิจกรรมรวมพลคนกินนมแม่ (ครอบครัวนมแม่ ประกอบด้วย พ่อแม่ ผู้ดูแลเด็ก ปู่ย่าตายาย) (4) - ค่าชุดบำรุงครรภ์สำหรับหญิงตั้งครรภ์ทีมีภาวะครรภ์เสี่ยง (ไข่)    จำนวน  30  คนๆ ละ ๔ แผงๆละ ๑๕๐ บาท เป็นเงิน  18,000  บาท - ค่าชุดอุปกรณ์ฝึกทักษะการแปรงฟัน ชุดละ 30 บาท จำนวน 30 ชุด          เป็นเงิน        900  บาท (5) - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ผู้ปกครองเด็กอายุ 0 - 2 ปี ในกิจกรรมให้ความรู้กลุ่มย่อย    จำนวน 1 มื้อๆละ ๒๕ บาท จำนวน 125 คน   เป็นเงิน ๓,125  บาท - อุปกรณ์ทำความสะอาดช่องปากเด็กสำหรับฝึกทักษะ จำนวน  ชุดละ 25 บาท  เป็นเงิน  3,125  บาท - ฟลูออไรด์วานิช (6) ๑. พ่อแม่ผู้ปกครองเกิดการวิเคราะห์ตนเองและสิ่งแวดล้อมเห็นช่องว่างทางความคิดและวิถีชีวิตระหว่างคนต่างรุ่นและผลที่ตามมา ๒. พ่อแม่ผู้ปกครองเกิดทัศนะที่เปิดกว้างในเรื่องเพศวิถีและรับฟังมากขึ้นจากการได้มุมมองที่แตกต่างหลากหลาย หญิงมีครรภ์และหญิงหลังคลอดและครอบ (7) - ค่าอาหารกลางวัน จำนวน ๑ มื้อ ๆ ละ ๕๐ บาท จำนวน ๖๐ คน              เป็นเงิน ๓,๐๐๐ บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน ๒ มื้อๆละ ๒๕ บาท จำนวน ๖๐ คน เป็นเงิน ๓,๐๐๐ บาท - ค่าป้ายไวนิล ขนาด ๑ x ๓ เมตร จำนวน ๑ ป้าย เป็นเงิน  500 บาท - ชุดสาธิตอาหา

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการส่งเสริมสุขภาพอนามัยแม่และเด็ก จังหวัด สงขลา

รหัสโครงการ l8401-68-07

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางจุฑามาศ พุ่มมา )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด