กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบรายงานการดำเนินงานฉบับสมบูรณ์

รายงานฉบับสมบูรณ์


โครงการ
“ โครงการสตรีใส่ใจสุขภาพป้องกันมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ”
ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส



หัวหน้าโครงการ
นางฮานีฟะห์ เจ๊ะปูเต๊ะ




ชื่อโครงการ โครงการสตรีใส่ใจสุขภาพป้องกันมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ปีงบประมาณ พ.ศ. 2568

ที่อยู่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ L2749-01-06-68 เลขที่ข้อตกลง 05/2568

ระยะเวลาดำเนินงาน ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568

กิตติกรรมประกาศ

"โครงการสตรีใส่ใจสุขภาพป้องกันมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 จังหวัดนราธิวาส" สำเร็จได้ด้วยดี ด้วยความร่วมมือจาก สมาชิกในชุมชน ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส

คณะทำงานโครงการฯ ขอขอบคุณ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต ที่ให้การสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินโครงการฯ รวมทั้ง ภาคีเครือข่ายที่สำคัญระดับพื้นที่ ที่ให้การสนับสนุน ช่วยเหลือ ชี้แนะ สุดท้ายขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องที่มิได้ระบุชื่อไว้ในที่นี้ ซึ่งมีส่วนสำคัญในการขับเคลื่อนการดำเนินงานให้มีความยั่งยืนในพื้นที่ต่อไป

คณะทำงานโครงการ
โครงการสตรีใส่ใจสุขภาพป้องกันมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ปีงบประมาณ พ.ศ. 2568



บทคัดย่อ

โครงการ " โครงการสตรีใส่ใจสุขภาพป้องกันมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 " ดำเนินการในพื้นที่ ตำบลบูกิต อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส รหัสโครงการ L2749-01-06-68 ระยะเวลาการดำเนินงาน 1 ตุลาคม 2567 - 30 กันยายน 2568 ได้รับการสนับสนุนงบประมาณจำนวน 16,950.00 บาท จาก กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บูกิต เพื่อใช้ในการดำเนินกิจกรรมโครงการ หลังจากสิ้นสุดระยะเวลาโครงการ ผลที่เกิดขึ้นจากการดำเนินงานปรากฏดังนี้

โครงการนี้ยังไม่มีการเขียนหรือแก้ไขบทคัดย่อ

หมายเหตุ : รายละเอียดของบทสรุปคัดย่อการดำเนินงาน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการเป็นผู้เขียนสรุปภาพรวมของโครงการใน "ผลลัพธ์โครงการ"


สารบัญ

กิตติกรรมประกาศ»
บทคัดย่อ»
   ความเป็นมา/หลักการเหตุผล»
   วัตถุประสงค์โครงการ»
   กิจกรรม/การดำเนินงาน»
   กลุ่มเป้าหมาย»
   ผลลัพธ์ที่ได้»
   การประเมินผล»
   ปัญหาและอุปสรรค»
   ข้อเสนอแนะ»
   เอกสารประกอบอื่นๆ»

ความเป็นมา/หลักการเหตุผล

มะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูกเป็นปัญหาสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของสตรีพบว่าอัตราการเกิดมะเร็งทั้งสองชนิดยังคงอยู่ในระดับสูง และเป็นสาเหตุหลักของการเสียชีวิตของผู้หญิงเป็นจำนวนมาก อย่างไรก็ตามโรคเหล่านี้สามารถป้องกันได้ หากมีการตรวจคัดกรองและดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสม สามารถช่วยให้พบความผิดปกติได้ตั้งแต่ระยะเริ่มต้น ซึ่งเพิ่มโอกาสในการรักษาให้ได้ผลดีขึ้น การขาดความรู้ ความเข้าใจ และการเข้าถึงบริการตรวจคัดกรองเป็นปัจจัยสำคัญที่ทำให้มะเร็งทั้งสองชนิดถูกตรวจพบในระยะลุกลาม การรู้ทันภัยมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมจึงมีเป้าหมายเพื่อสร้างความตระหนัก ส่งเสริมให้ผู้หญิงเข้ารับการตรวจคัดกรอง และให้ความรู้เกี่ยวกับแนวทางป้องกันและดูแลสุขภาพอย่างถูกต้อง เพราะโรคมะเร็งทำให้เกิดการสูญเสียชีวิตของประชาชนและสิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลเป็นจำนวนมาก พบว่าอัตราตายจากโรคมะเร็งมีแนวโน้มสูงขึ้น และโรคมะเร็งที่พบมากที่สุดได้แก่มะเร็งตับ มะเร็งปอด มะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านมตามลำดับสำหรับสตรี โรคมะเร็งปากมดลูกมีอุบัติการณ์สูงเป็นอันดับหนึ่งของโรคมะเร็งทุกชนิดนอกจากนี้ยังพบว่าการตรวจวินิจฉัยและให้การรักษาผู้ที่มีความผิดปกติของปากมดลูกตั้งแต่ระยะก่อนเป็นมะเร็งตามขั้นตอนที่ถูกต้องเหมาะสมสามารถลดอุบัติการณ์และอัตราการตายของโรคมะเร็งปากมดลูกได้เนื่องจากมะเร็งปากมดลูกเป็นมะเร็งที่สามารถตรวจพบได้ตั้งแต่เซลล์เริ่มผิดปกติโดยการทำ HPV DNA Self Test ประกอบกับการดำเนินโรคเป็นแบบค่อยเป็นค่อยไปและสามารถรักษาให้หายขาดได้โดยการรักษาตามระบบตลอดจนลดอัตราป่วยและตายของสตรีจากโรคมะเร็งปากมดลูก
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านปีแนมูดอ มีพื้นที่เขตรับผิดชอบทั้งหมด 5 หมู่บ้าน ได้แก่ 1. หมู่ที่ 6 บ้านบาตาปาเซ , 2.หมู่ที่ 7 บ้านบูเกะตาโมง, 3.หมู่ที่ 10 บ้านปีแนมูดอ, 4. หมู่ที่ 11 บ้านกำปงบารูและ 5. หมู่ที่12 บ้านบูเกะกือจิ ได้เล็งเห็นความสำคัญของการค้นหาผู้ป่วยให้เร็วที่สุดโดยดำเนินการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีอายุ 30 – 60 ปี ค้นหามะเร็งปากมดลูก และมะเร็งเต้านมในสตรีอายุ 30 – 70 ปี ในระยะเริ่มแรก เพื่อให้ครอบคลุมประชากรระดับหนึ่ง ซึ่งจะช่วยลดอัตราป่วยและอัตราตายด้วยโรคมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมได้ โดยปี 2565-2569 มีกลุ่มเป้าหมายสตรีอายุ 30 – 60 ปี ที่จะต้องได้รับการคัดกรองทั้งหมด656 คน (เป็นผลงานสะสม 5 ปี) และตั้งแต่ปี 2565-2567 ได้ดำเนินการคัดกรองค้นหาโรคมะเร็งปากมดลูก กลุ่มป้าหมาย 30-60 ปี ได้รับการตรวจคัดกรองสะสม 3 ปี (2567) จำนวน 68 คน คิดเป็นร้อยละ 10.37 ซึ่งยังไม่ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัด และในปีงบประมาณ 2567 การตรวจคัดกรองมะเร็งเต้านมด้วยตนเองกลุ่มป้าหมาย 30-70 ปี จำนวน 1,136 ราย ได้รับการคัดกรองด้วยตนเองหรือเจ้าหน้าที่จำนวน 530 ราย คิดเป็นร้อยละ 46.65 จะเห็นได้ว่า การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมยังไม่ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งอาจทำให้ผู้ป่วยไม่ได้รับการรักษาได้ทันท่วงที ซึ่งเป็นปัญหาที่จะต้องดำเนินการแก้ไขแบบเร่งด่วน ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้าน ปีแนมูดอ จึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของสตรีกลุ่มเป้าหมายที่จะต้องได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมที่ถูกต้อง และสนับสนุนให้ประชาชนตระหนักถึงความสำคัญของการตรวจคัดกรอง และสามารถลดอัตราการเกิดและเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งเต้านมในระยะยาว จึงได้ทำโครงการสตรีใส่ใจสุขภาพป้องกันมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก

สถานการณ์

วัตถุประสงค์โครงการ

  1. เพื่อให้สตรีอายุ 30-70 ปี มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านม และสตรีอายุ 30-60 ปีมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก
  2. เพื่อส่งเสริมให้สตรีอายุ 30-70 ปี ได้รับการฝึกทักษะในการตรวจมะเร็งเต้านมอย่างถูกวิธีและได้รับการตรวจซ้ำด้วยบุคคลากรทางการแพทย์
  3. เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี ที่มีภาวะเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเอง (HPV SELF TEST)

กิจกรรม/การดำเนินงาน

  1. อบรมให้ความรู้และเสริมสร้างความเข้าใจในการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยตรวจด้วยตนเอง (HPV DNA SELF TEST) ในสตรีอายุ 30-60 ปี และมะเร็งเต้านมในสตรีอายุ 30-70 ปี

กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
สตรีวัยเจริญพันธ์ อายุ 30-60 ปี 60

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1.สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-60 ปี มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก 2. สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 – 70 ปี มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากเต้านม 3.สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30-60 ปี ได้รับคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี HPV DNA Self Test
4. สตรีกลุ่มเป้าหมายอายุ 30 – 70 ปี ได้รับการคัดกรองมะเร็งเต้านมได้ถูกวิธึ


ส่วนที่ 1 ผลการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
ผลลัพธ์และตัวชี้วัดผลลัพธ์**
กิจกรรมของโครงการ
ผลผลิต*
ผลผลิตที่ตั้งไว้ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง

* ผลผลิต หมายถึง ผลที่เกิดขึ้นเชิงปริมาณจากการทำกิจกรรม เช่น จำนวนผู้เข้าร่วมประชุม จำนวนผู้ผ่านการอบรม จำนวนครัวเรือนที่ปลูกผักสวนครัว เป็นต้น
** ผลลัพธ์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่การแก้ปัญหา เช่น หลังอบรมมีผู้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจำนวนกี่คน มีข้อบังคับหรือมาตรการของชุมชนที่นำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมหรือสภาพแวดล้อม เป็นต้น ทั้งนี้ต้องมีข้อมูลอ้างอิงประกอบการรายงาน เช่น ข้อมูลรายชื่อแกนนำ , แบบสรุปการประเมินความรู้ , รูปภาพกิจกรรมพร้อมคำอธิบายใต้ภาพ เป็นต้น


ส่วนที่ 2 ประเมินความพึงพอใจต่อความสำเร็จและปัญหาอุปสรรคในการดำเนินโครงการในภาพรวม

ผลการดำเนินโครงการ

สรุปผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรม:
บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ
บรรลุตามวัตถุประสงค์บางส่วนของโครงการ
ไม่บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ

 

ผลผลิตโครงการ

วัตถุประสงค์สถานการณ์เป้าหมายผลผลิตอธิบาย
1 เพื่อให้สตรีอายุ 30-70 ปี มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านม และสตรีอายุ 30-60 ปีมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก
ตัวชี้วัด : - สตรีอายุ 30-60 ปี มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก - สตรีอายุ 30-70 ปี มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านม
60.00 60.00

 

2 เพื่อส่งเสริมให้สตรีอายุ 30-70 ปี ได้รับการฝึกทักษะในการตรวจมะเร็งเต้านมอย่างถูกวิธีและได้รับการตรวจซ้ำด้วยบุคคลากรทางการแพทย์
ตัวชี้วัด : - สตรีอายุ 30-70 ปี ได้รับการคัดกรองโรคมะเร็งเต้านมได้อย่างถูกวิธี
60.00 60.00

 

3 เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี ที่มีภาวะเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเอง (HPV SELF TEST)
ตัวชี้วัด : - สตรีอายุ 30-60 ปี ที่มีภาวะเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเอง (HPV SELF TEST)
60.00 60.00

 

ผู้เข้าร่วมโครงการ

กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
จำนวนกลุ่มเป้าหมายทั้งหมด 120
กลุ่มเป้าหมายจำนวนที่วางไว้(คน)จำนวนที่เข้าร่วม(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน -
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน -
กลุ่มวัยทำงาน -
กลุ่มผู้สูงอายุ -
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด -
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง -
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ -
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 60
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] -
สตรีวัยเจริญพันธ์ อายุ 30-60 ปี 60

บทคัดย่อ*

โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) เพื่อให้สตรีอายุ 30-70 ปี มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งเต้านม และสตรีอายุ 30-60 ปีมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูก (2) เพื่อส่งเสริมให้สตรีอายุ 30-70 ปี ได้รับการฝึกทักษะในการตรวจมะเร็งเต้านมอย่างถูกวิธีและได้รับการตรวจซ้ำด้วยบุคคลากรทางการแพทย์ (3) เพื่อให้สตรีอายุ 30-60 ปี ที่มีภาวะเสี่ยงได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยตนเอง (HPV SELF TEST)

ผลการดำเนินงานที่สำคัญ ได้แก่ (1) อบรมให้ความรู้และเสริมสร้างความเข้าใจในการคัดกรองมะเร็งปากมดลูกโดยตรวจด้วยตนเอง (HPV DNA SELF TEST) ในสตรีอายุ 30-60 ปี และมะเร็งเต้านมในสตรีอายุ 30-70 ปี

ข้อเสนอแนะ ได้แก่ (1) ...

หมายเหตุ *

  • บทคัดย่อ จะนำไปใส่ในส่วนบทคัดย่อของรายงานฉบับสมบูรณ์
  • หากต้องการใช้ค่าเริ่มต้นของบทคัดย่อ ให้ลบข้อความในช่องบทคัดย่อ ทั้งหมด แล้วกดปุ่ม Refresh

ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะ

ปัญหาและอุปสรรคสาเหตุข้อเสนอแนะ

 

 

 


โครงการสตรีใส่ใจสุขภาพป้องกันมะเร็งเต้านมและมะเร็งปากมดลูก ปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 จังหวัด นราธิวาส

รหัสโครงการ L2749-01-06-68

ได้ดำเนินกิจกรรมตามที่เสนอไว้เสร็จสมบูรณ์เรียบร้อยแล้ว

................................
( นางฮานีฟะห์ เจ๊ะปูเต๊ะ )
ผู้รับผิดชอบโครงการ
......./............/.......

vertical_align_topไปบนสุด